Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64154
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาธร เหลืองสดใส-
dc.contributor.authorธนกฤต งามสุนทรวงศ์-
dc.contributor.authorภูริวัฒน์ มีชัยเจริญยิ่ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-02-12T04:43:15Z-
dc.date.available2020-02-12T04:43:15Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64154-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractในปัจจุบันเราจะเห็นว่าประชากรส่วนหนึ่งในประเทศไทยเริ่มใช้โซเชียลมีเดีย เช่น เฟสบุ๊ค, ทวิตเตอร์ เพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้บริการของธุรกิจ ทำให้ธุรกิจเกิดความจำเป็นที่จะต้องจ้างพนักงานมาเพื่ออ่านข้อความที่ลูกค้าแสดงความคิดเห็น เพื่อนำความคิดเห็นต่าง ๆ ไปปรับปรุงการบริการให้ดีขึ้น ในจุดนี้ผู้พัฒนาเล็งเห็นว่าหากเราต้องอ่านความคิดเห็นทั้งหมดด้วยตัวเองนั้น อาจต้องใช้เวลาในการอ่านความคิดเห็นแต่ละครั้งเป็นจำนวนมาก ประกอบกับในปัจจุบันมีการนำเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในการจัดกลุ่มข้อความออกเป็นหมวดหมู่ อย่างเช่นการจัดข้อความเป็นหมวดหมู่ตามความหมายความรู้สึกเชิงบวกหรือเชิงลบ ดังนั้น ผู้พัฒนาจึงพัฒนาโปรแกรมเพื่อช่วยจัดกลุ่มความคิดเห็นที่มีต่อร้านอาหารบนเฟสบุ๊คออกเป็นหมวดหมู่เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับธุรกิจในการรับความคิดเห็นเกี่ยวกับบริการที่ลูกค้าได้รับจากธุรกิจen_US
dc.description.abstractalternativeAt present, there are numbers of Thai people using social media, such as Facebook or Twitter, to give feedback about services of businesses. Businesses, therefore, need several employees to read or monitor these comments in order to improve their services. This manual process wastes employee time and increase costs to businesses. Due to the gaining popularity of Data Analytic research, we can apply data mining techniques to classify automatically data into meaningful classes. For our work, we classify user comments from Facebook into 'Positive' and 'Negative' classes. As a result, businesses can apply our work to receive the positive or negative feedback from their customers and to improve their services accordingly.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเฟซบุ๊กen_US
dc.subjectร้านอาหารen_US
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์en_US
dc.subjectFacebook (Electronic resource)en_US
dc.subjectRestaurantsen_US
dc.subjectSocial mediaen_US
dc.titleการวิเคราะห์ความรู้สึกของความคิดเห็นที่มีต่อร้านอาหารบนเฟสบุ๊คen_US
dc.title.alternativeSentiment analysis of restaurant reviews posted on Facebooken_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorArthorn.L@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanakrit_N_Se_2561.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.