Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64222
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริวรรณ พัฒนาฤดี-
dc.contributor.authorธนพร อุทัยน้อย-
dc.contributor.authorณภัทร ดวงรัศมี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-02-24T09:18:12Z-
dc.date.available2020-02-24T09:18:12Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64222-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractบรรจุภัณฑ์จากกระดาษเป็นที่นิยมมากขึ้น โดยมีปัจจัยทางด้านความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มสมบัติทางกายภาพของกระดาษ หรือเพิ่มความสามารถรองรับทางด้านการพิมพ์ให้ได้มากขึ้น เพื่อเพิ่มมูลค่าของงานบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นโครงการนี้จึงได้ให้ความสนใจในด้านของการเคลือบกระดาษชนิดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยใช้พอลิเมอร์ชีวภาพที่สามารถสลายได้ชนิดพอลิแล็กติกแอซิด ผสมกับสารเสริมสภาพพลาสติกชนิดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเคลือบบนผิวกระดาษ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของปริมาณสารเสริมสภาพพลาสติกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่เหมาะสมสำหรับสารเคลือบผิวกระดาษจากพลาสติกชีวภาพ และศึกษาสมบัติทางกายภาพของกระดาษหลังการเคลือบผิว ได้แก่ ความต้านทานต่อแรงดึง เปอร์เซ็นต์ระยะยืด สมบัติการทรงรูป สมบัติความต้านทานอากาศ สมบัติการเปียกผิว และสมบัติการยึดติดของหมึกพิมพ์เฟล็กโซฐานน้ำ จากผลการทดลองพบว่าเมื่อใส่ สารเสริมสภาพพลาสติกชนิดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จะทำให้สมบัติการทนต่อแรงดึง ความทรงรูปที่ดีขึ้น เมื่อเทียบกับสารเคลือบพอลิเมอร์ชีวภาพที่ไม่ผสมสารเสริมสภาพพลาสติก และกระดาษไม่เคลือบผิวและรดับการยึดติดของหมึกพิมพ์มีระดับค่อนข้างดีมากen_US
dc.description.abstractalternativePaper packaging has gained more attention. To increase value of environmentally friendly packaging, it requires good physical properties and improved printability. Therefore, this project has paid attention in the field of environmentally friendly paper coatings, by using biodegradable polymer, polylactic acid, mixed with environmentally friendly plasticizer. This project focused on the effect of plasticizer concentrations on coated papers. Physical properties, i.e. tensile strength, elongation, stiffness, air resistance, wetting and ink adhesion of the coated papers were also investigated. It was found that by adding the plasticizer, the physical properties were improved compared with uncoated and unplasticizer coated papers. Ink adhesion by tape test indicated good level of adhesion between printing ink and plasticized coating on paper.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleผลของสารเสริมสภาพพลาสติกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต่อสารเคลือบผิวสำหรับกระดาษen_US
dc.title.alternativeEffect of environmentally friendly plasticizer for paper coatingen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorSiriwan.Ph@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanaporn_U_Se_2561.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.