Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64254
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชมภูนุช กลิ่นวงษ์ | - |
dc.contributor.advisor | วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล | - |
dc.contributor.author | บุรัสกร พิมแพง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | สงขลา | - |
dc.date.accessioned | 2020-02-26T02:51:52Z | - |
dc.date.available | 2020-02-26T02:51:52Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64254 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพันธุศาสตร์. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 | en_US |
dc.description.abstract | การตรวจสอบการปนเปื้อนของแบคทีเรียก่อโรคเป็นข้อกำหนดตามมาตรฐานอาหารสากลซึ่งมีจำนวนกลุ่มของแบคทีเรียจำกัด และอีกทั้งยังไม่มีการศึกษาในสัตว์น้ำที่พบเฉพาะถิ่น งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบการปนเปื้อนของแบคทีเรียก่อโรค 5 กลุ่ม ได้แก่ Escherichia coli/coliform, Salmonella spp., Vibrio spp., Clostridium spp. และ Bacillus spp. ซึ่งการตรวจแบคทีเรียกลุ่ม Clostridium spp. และ Bacillus spp. เป็นการตรวจเพิ่มขึ้นจากเกณฑ์มาตรฐาน โดยตรวจสอบในหอยกัน (Polymesoda bengalensis) จำนวน 6 ตัวอย่าง ที่เก็บจากคลองควาย อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ในฤดูร้อนและฤดูฝน พ.ศ. 2561 ด้วยวิธีคัดแยกเชื้อและระบุชนิดโดยวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน 16S rDNA ร่วมกับการทดสอบคุณสมบัติทางชีวเคมี ผลการศึกษาพบการปนเปื้อนของ coliform ในตัวอย่างหอยกันจากฤดูร้อนมากกว่าฤดูฝน โดยพบจำนวนเฉลี่ย 6.7x10⁴ และ 4.1x10⁴ CFU/ml ตามลำดับ อีกทั้งพบการปนเปื้อนของ Bacillus cereus ในตัวอย่างหอยกันจากฤดูร้อนมากกว่าฤดูฝน โดยพบจำนวนเฉลี่ย 6.7x10³ และ 40 CFU/ml ตามลำดับ นอกจากนี้พบการปนเปื้อนของเชื้อ Clostridium sp. ในตัวอย่างหอยกันจากฤดูฝนจำนวนเฉลี่ยมากกว่า 1.6x10³ MPN/ml จากการตรวจสอบพบการปนเปื้อนของแบคทีเรียก่อโรคได้แก่ Shewanella algae, Clostridium sp., B. cereus, Aeromonas allosaccharophila, Enterococcus sp. และ Rahnella aquatilis ซึ่ง ตรวจเพิ่มเติมจากข้อระบุในเกณฑ์คุณภาพทางจุลชีววิทยาของอาหารทะเลที่บริโภคดิบ โดยสรุป การตรวจสอบแบคทีเรียตามเกณฑ์มาตรฐานปัจจุบันไม่ครอบคลุมถึงแบคทีเรียกลุ่มอื่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค และจากการพบการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรียก่อโรคหลายชนิดในหอยกัน ผู้บริโภคจึงควรหลีกเลี่ยงการบริโภคหอยกันที่ยังไม่ผ่านการปรุงสุก | en_US |
dc.description.abstractalternative | Detection of pathogenic bacterial contamination is a requirement of international food standards which have a limited number of bacterial groups. Pathogenic bacterial contamination in local endemic aquatic has never been studies. This research aimed to examine 5 groups of pathogenic bacterial: Escherichia coli/ coliform, Salmonella spp., Vibrio spp., Clostridium spp. and Bacillus spp. In addition, examination of Clostridium spp. and Bacillus spp. was an optional test to check for quality control. Six samples of Polymesoda bengalensis were collected from Khwai Canal, Thepha District, Songkhla Province during summer and rainy season in 2018. Bacterial isolates were identified using combinatorial analysis of rDNA nucleotide sequence and biochemical tests. The results showed that samples from summer having higher coliform contamination than that in rainy season, with an average amount of 6.7x10⁴ and 4.1x10⁴ CFU/ml respectively and also presence of Bacillus cereus contamination was much higher than that in rainy season, with an average amount of 6.7x10³ and 40 CFU/ml respectively. Besides, Clostridium sp. contamination in sample from the rainy season had an average amount of more than 1.6x10³ MPN/ml. After inspection, the contamination included pathogenic groups of Clostridium sp., B. cereus, Aeromonas allosaccharophila, Shewanella algae, Enterococcus sp. and Rahnella aquatilis which were additionally examined from the criteria in the microbiological quality of raw seafood. In summary, the current standard bacteriological examination does not cover other bacterial groups that affect consumer’s health. Also, due to the contamination of several pathogenic bacterial found in Polymesoda bengalensis, the consumers should avoid consuming uncooked Polymesoda bengalensis. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การตรวจสอบการปนเปื้อนของแบคทีเรียก่อโรคในหอยกันในพื้นที่อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา โดยใช้เทคนิคทางอณูพันธุศาสตร์ | en_US |
dc.title.alternative | Detection of pathogenic bacterial contamination in Polymesoda bengalensis in Thepha district, Songkhla province using molecular genetic technique | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Chompunuch.V@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Warawut.C@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Burassakorn_P_Se_2561.pdf | 1.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.