Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64343
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กนกวรรณ เสรีภาพ | - |
dc.contributor.author | ศรสวรรค์ เวทมนต์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-03-12T07:33:05Z | - |
dc.date.available | 2020-03-12T07:33:05Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64343 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 | en_US |
dc.description.abstract | การทดลองศึกษาผลของไคโทซานและกรดจิบเบอเรลลิกต่อการงอกของเมล็ดและการ เติบโตของต้นกล้าพริกหวาน โดยการแช่เมล็ดในสารละลายไคโทซานความเข้มข้น 10, 20 และ 30 ppm และสารละลาย GA₃ ความเข้มข้น 100, 150 และ 200 ppm ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส พบว่า การแช่เมล็ดพริกหวานในสารละลายไคโทซานและสารละลาย GA₃ สามารถทำให้เมล็ดพริก หวานมีการงอกมาตรฐานมากขึน้ และมีเวลาเฉลี่ยในการงอกเร็วขึน้ เมื่อเทียบกับเมล็ดที่แช่ในน้ำกลั่น (ชุดการทดลองควบคุม) โดยการแช่เมล็ดในสารละลายไคโทซานความเข้มข้น 20 ppm และ สารละลาย GA₃ ความเข้มข้น 150 ppm มีแนวโน้มทำให้เมล็ดมีการงอกในห้องปฏิบัติการสูงสุด (96.00 และ 93.50% ตามลำดับ) และมีเวลาเฉลี่ยในการงอกเร็วที่สุด (8.99 และ 8.95 วัน ตามลำดับ) ในขณะที่เมล็ดที่แช่ในน้ำกลั่น (ชุดการทดลองควบคุม) มีการงอกในห้องปฏิบัติการต่ำที่สุด (83.50%) หลังจากนัน้ จึงทดสองใช้สารละลายไคโทซานและสารละลาย GA₃ ความเข้มข้น ดังกล่าวเร่งการงอกของเมล็ดร่วมกันโดยแช่เมล็ดที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียสต่อไป ซึ่งพบว่าการแช่เมล็ดในสารละลายไคโทซานความเข้มข้น 20 ppm + GA₃ ความเข้มข้น 150 ppm ที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ส่งผลให้เมล็ดมีการงอกในสภาพโรงเรือนสูง ที่สุด (92.50 %) ในขณะที่ในชุดการทดลองอื่น การแช่เมล็ดที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสส่งผลให้เมล็ดมีความงอกสูงกว่าเมล็ดที่แช่ในสารละลายที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ผลการศึกษา ทัง้ หมดนี้สามารถนำไปช่วยกระตุ้นการงอกของเมล็ดพันธุ์พริกหวานได้ต่อไป | en_US |
dc.description.abstractalternative | The effects of chitosan and gibberellic acid on seed germination and seedling growth of bell pepper were investigated. Bell pepper seeds were soaked in 10, 20, 30 ppm chitosan solution and 100, 150, 200 ppm GA3 at room temperature before germination. The results revealed that all chitosan and GA3 priming treatments enhanced seed germination and germination index when compared with control treatment. Moreover, primed seeds in 20 ppm chitosan and 150 ppm GA₃ tended to stimulate the highest seed germination percentage in laboratory (96.00 and 93.50%, respectively) and the shortest mean time to germination (germination index) (8.99 and 8.95 days, respectively) while primed seeds in water (control) showed the lowest germination percentage in laboratory (83.50%). Hence, the mixture of 20 ppm chitosan and 150 ppm GA₃ was used to further prime seeds at room temperature and 40 °C. The results revealed that primed seeds in the mixture of 20 ppm chitosan and 150 ppm GA₃ at 40 °C tended to show the highest germination percentage in greenhouse (92.50%) while primed seeds at room temperature in other treatments tended to show higher seed germination when compared with primed seeds at 40 °C. The results of this experiments can be helpful in seed priming of bell pepper seeds. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | ผลของไคโทซานและกรดจิบเบอเรลลิกต่อการงอกของเมล็ดและการเติบโตของต้นกล้าพริกหวาน | en_US |
dc.title.alternative | Effects of chitosan and gibberellic acid on seed germination and seedling growth of bell pepper | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Kanogwan.K@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sornsawan_V_Se_2561.pdf | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.