Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64352
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChadin Kulsing-
dc.contributor.advisorTanatorn Khotavivattana-
dc.contributor.authorPitchakorn Jungsanguansit-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2020-03-13T09:42:03Z-
dc.date.available2020-03-13T09:42:03Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64352-
dc.descriptionIn Partial Fulfillment for the Degree of Bachelor of Science in Chemistry, Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2018en_US
dc.description.abstractIn this work, simple two-dimensional (2D) chromatographic technique was developed to separate compounds in highly complex sample. The technique is called LCxGC-MS, involving the use of liquid chromatography (LC) as the first dimensional separation technique and the conventional GC-MS as the second dimensional separation. In this work, the green curry paste was selected as the sample for the analyses since it has a complicated chemical profile that has not been investigated in detail before. The LCxGC-MS results were compared with that obtained from the conventional GC-MS in the aspects of the number of identified compounds and quality of the MS spectra of the compounds. The LCxGC-MS and the conventional GC-MS technique analysis could identify 106 and 63 compounds in green curry paste, respectively, by comparison between the experimental MS spectra with that from the NIST database. Moreover, the signal intensities obtained with LCxGC-MS is enhanced and less complex than that with GC-MS analysis. This allows compound identification with higher confidence as indicated by the higher MS match scores obtained with LCxGC-MS. The compounds in different classes and the odor active compounds were also reported and discussed. This investigation emphasizes that multidimensional chromatographic technique is more effective, accurate and reliable than onedimensional chromatographic technique.en_US
dc.description.abstractalternativeในงานวิจัยนี้เทคนิคโครมาโทกราฟีสองมิติอย่างง่ายได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อแยกสารประกอบใน สารตัวอย่างที่มีความซับซ้อนสูงเรียกเทคนิคนี้ว่า เทคนิคลิควิดและแก๊สโครมาโทกราฟีชนิด ครอบคลุม-แมสสเปกโทรเมตรี (LCxGC-MS) ซึ่งจะใช้ลิควิดโครมาโทกราฟี (LC) เป็นเทคนิคแยกสาร ในมิติแรกและแก๊สโครมาโทกราฟี-แมสสเปกโทรเมตรี (GC-MS) เป็นเทคนิคแยกสารในมิติที่สอง ใน งานนี้แกงเขียวหวานได้ถูกเลือกมาใช้เป็นสารตัวอย่างในการวิเคราะห์ เนื่องจากมีองค์ประกอบทาง เคมีที่ซับซ้อน ซึ่งยังไม่มีการตรวจสอบองค์ประกอบทางเคมีมาก่อน โดยผลการทดลองของ LCxGCMS ถูกนำมาเปรียบเทียบกับผลการทดลองที่ได้จาก GC-MS ในด้านของจำนวนของสารประกอบที่ ตรวจพบและคุณภาพของแมสสเปกตรัมของสารประกอบ การวิเคราะห์ด้วยเทคนิค LCxGC-MS และ เทคนิค GC-MS ที่ใช้กันทั่วไปสามารถระบุสารประกอบในแกงเขียวหวานได้ 106 และ 63 สารประกอบ ตามลำดับ โดยเปรียบเทียบระหว่างแมสสเปกตรัมที่ได้จากการทดลองกับระบบสืบค้น NIST นอกจากนั้นค่าความเข้มของสัญญาณที่ได้จากเทคนิค LCxGC-MS มีค่าที่เพิ่มมากขึ้นและมี ความซับซ้อนน้อยกว่าการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค GC-MS ทำให้การระบุสารสารประกอบมีความเชื่อมั่น ที่สูงขึ้น ซึ่งแสดงให้เห็นโดยค่าการจับคู่แมสสเปกตรัมที่ได้จากเทคนิค LCxGC-MS มีค่ามากขึ้น นอกจากนี้สารประกอบที่มีประเภทแตกต่างกันและสารประกอบที่แสดงคุณสมบัติทางกลิ่นได้นำมา รายงานและวิเคราะห์ผล การตรวจสอบนี้แสดงให้เห็นว่าเทคนิคโครมาโทกราฟีหลายมิติมี ประสิทธิภาพ, ความถูกต้อง และความน่าเชื่อถือสูงกว่าเทคนิคโครมาโทกราฟีหนึ่งมิติen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.titleDevelopment of multidimensional chromatographic technique for improved analysis of Thai fooden_US
dc.title.alternativeการพัฒนาเทคนิคโครมาโทกราฟีหลายมิติเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวิเคราะห์อาหารไทยen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorchadin.k@chula.ac.th-
dc.email.advisortanatorn.k@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pitchakorn_J_Se_2561.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.