Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64382
Title: A layout improvement of plastic utensil processing line
Other Titles: การปรับปรุงผังสายการผลิตภาชนะพลาสติก
Authors: Kamonrat Kamonpatana
Advisors: Suthas Ratanakuakangwan
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Issue Date: 2001
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This research aims to study, analyze and improve the plant layout of the case study factory, a plastic utensil processing line, in order to reduce production lead time, cost and transportation. This research is also based on industrial engineering and engineering management knowledge such as plant layout, work study and work measurement. After studying the current plant layout, the case factory is found to have a poor plant layout. Because of the meandering route of material flow, high number of delivering of work in process and finished goods, this results in the excessive use of workforce and time in production and transportation, the cost of production and deterioration of the quality of products. All the problems are the bases for analyzing and defining the way of improvement. After improvement, the unnecessary activity was eliminated that reduced the cost of transportation 32.58 % and time of transportation 58.27%. Improvement of warehouse system and management to be more close system that can reduce risk of contamination, as a result, increasing the quality of the products. Increasing the reputation of the company by creating clean and close system workplace environment that meet the customer requirements. Moreover, the cost of production (labour cost) reduces 32.58% which results in increasing the productivity.
Other Abstract: การวิจัยนี้มุ่งเน้นการศึกษา วิเคราะห์ และการปรับปรุงผังโรงงานตัวอย่างที่ทำการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก เพื่อที่จะลดรอบเวลาในการผลิต ลดต้นทุน และการขนย้ายวัสดุภายในโรงงาน โดยใช้ความรู้ทางวิศวกรรมอุตสาหการและวิศวกรรมการจัดการในการวิจัยครั้งนี้อาทิเช่น การวางผังโรงงาน การศึกษาการทำงาน การวัดการทำงาน เป็นต้น ภายหลังการศึกษาสภาพผังโรงงานในปัจจุบันพบว่าโรงงานยังมีผังโรงงานที่ไม่มีประสิทธิภาพ โดยสังเกตได้จากการวกวนไปมาของเส้นทางการไหลของวัสดุภายในโรงงาน การขนย้ายทั้งวัสดุที่อยู่ในระหว่างการผลิตและสินค้าสำเร็จรูปที่มีปริมาณมาก ซึ่งก่อให้เกิด การสูญเสีย แรงงาน เวลาที่ใช้ในการขนย้าย ต้นทุนการผลิต และ การเสื่อมลงของคุณภาพสินค้า ซึ่งปัญหาและข้อมูลที่กล่าวไปแล้วข้างต้นจะเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิจัยและพัฒนาผังโรงงานต่อไป ภายหลังการปรับปรุงแล้วพบว่าศึกษาสภาพผังโรงงานในปัจจุบันพบว่าลดการขนย้ายที่ไม่จำเป็น อันทำให้เวลาและต้นทุนที่ใช้ในการขนย้ายลดลง 58.27% และ 32.58% ตามลำดับ ปรับปรุงระบบการจัดเก็บและการจัดการพื้นที่สินค้าคงคลังให้ดีขึ้นโดยจัดให้วางสินค้าชนิดเดียวกันในที่เดียวกันซึ่งง่ายต่อการควบคุม และลดโอกาสที่สินค้าจะปนเปื้อนสิ่งปลอมปนโดยออกแบบให้ผังโรงงานให้มีความต่อเนื่องและเป็นระบบปิดมากขึ้นเพื่อให้เกิดการขนย้ายภายในสิ่งแวดล้อมที่สะอาด อันเป็นผลให้คุณภาพของสินค้าเพิ่มขึ้น ซึ่งตรงกับความต้องการของลูกค้าและเพิ่มอันดับความน่าเชื่อถือและชื่อเสียงของบริษัท นอกจากนี้แล้วยังพบว่า ต้นทุนแรงงานลดลง 32.58% ซึ่งทำให้ผลิตผลของโรงงานดีขึ้นตามลำดับ
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2001
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Engineering Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64382
ISBN: 9740307159
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kamonrat_ka_front_p.pdf769.24 kBAdobe PDFView/Open
Kamonrat_ka_ch1_p.pdf910.47 kBAdobe PDFView/Open
Kamonrat_ka_ch2_p.pdf734.64 kBAdobe PDFView/Open
Kamonrat_ka_ch3_p.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open
Kamonrat_ka_ch4_p.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Kamonrat_ka_ch5_p.pdf947.96 kBAdobe PDFView/Open
Kamonrat_ka_ch6_p.pdf812.74 kBAdobe PDFView/Open
Kamonrat_ka_back_p.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.