Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64407
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ โฆวิไลกูล-
dc.contributor.advisorวสันต์ เทียนหอม-
dc.contributor.authorฤกษ์ฤทธิ์ เพชรวรกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-03-23T14:46:12Z-
dc.date.available2020-03-23T14:46:12Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740306438-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64407-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractเนื่องจากบริษัทจดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชนที่สามารถระดมเงินทุนจากสาธารณะชนเพื่อนำเงินทุนมาประกอบ กิจการของบริษัทจึงทำให้มีจำนวน ผู้มาลงทุนเป็นจำนวนมาก เพื่อที่จะส่งเสริมและพัฒนาตลาดทุน (Capital Market ) ให้มีความ เจริญ ก้าวหน้าและมีความเข็มแข็งและเป็นที่ไว้วางใจของประชาชน และผู้ลงทุนทั่วไป จึงมีความจำเป็นที่หน่วยงานซึ่งมีหน้าที่ควบคุมกำกับการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนจะต้องควบคุม กำกับ การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทและฝ่ายจัดการให้ชอบด้วยกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนนโยบายของบริษัท อย่างไรก็ตามเนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการบริษัทและฝ่ายจัดการอาจจะเป็นบุคคลที่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกัน และ ใน บางกรณีก็จะมีผลประโยชน์ขัดแย้งกันอันเป็นสาเหตุที่ก่อให้ เกิดความเสียหายต่อบริษัทอันมีผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนที่บริสุทธิ์ ดังนั้นจึงเป็นสาเหตุสำคัญ ที่ทำให้ตลาดหลัก ทรัพย์ออกประกาศในเรื่องคุณสมบัติและขอบเขตการดำเนินงานของกรรมการตรวจสอบ (ฉบับที่ 1) พ .ศ .2542 ขึ้นโดยกำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ผู้ที่จะเป็นกรรมการตรวจสอบจะต้องเป็น กรรมการอิสระเพื่อทำหน้าที่ดูแลรายงานทางการเงินของบริษัทให้มีความถูกต้องเพียงพอ เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทสามารถติดตามการทำงานของฝ่ายจัดการได้ใกล้ชิดมากขึ้น แต่ผลแห่งการปฏิบัติปรากฏว่ายังไม่สามารถดำเนินการให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์ได้อย่างสมบูรณ์ ทั้งนี้เพราะยังมีปัญหาอุปสรรต่าง ๆทั้งในเรื่องคุณสมบัติของกรรมการตรวจสอบ ผู้พิจารณาอนุมัติ ให้เป็นกรรมการตรวจสอบ หน้าที่ของกรรมการตรวจสอบ วิธีการแก้ไขปัญหาในกรณีที่มีกรรมการตรวจสอบมีความเห็นขัดแย้งกับกรรมการตรวจสอบด้วยกัน หรือ กรรมการตรวจสอบมีความเห็นขัดแย้งกับคณะกรรมการบริษัทและความรับผิดชอบทางกฎหมายของกรรมการตรวจสอบ ผลจากการศึกษาวิเคราะห์จึงเสนอข้อแนะนำที่ควรปรับปรุงแก้ไขเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดทั้งคณะกรรมการตรวจสอบขึ้นในบริษัทจดทะเบียนไทย ดังนี้ 1. กำหนดว่ากรรมการตรวจสอบทุกคนจะต้องมีเวลาเพียงพอในการปฏิบัติหน้าที่และต้องเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจในรายงานทางการเงินของบริษัท 2. กำหนดให้คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้พิจารณาอนุมัติให้เป็นกรรมการตรวจสอบภายใต้คำแนะนำและด้วยความเห็นชอบของตลาดหลักทรัพย์ 3. กำหนดให้กรรมการตรวจสอบมีหน้าที่เด่นชัดเท่าที่จำเป็น 4. กำหนดหลักเกณฑ์การแก้ไขความขัดแย้งต่าง ๆ ระหว่างกรรมการตรวจสอบด้วยกันเองหรือกรรมการตรวจสอบกับคณะกรรมการบริษัทโดยให้ตลาดหลักทรัพย์เป็นผู้ชี้ขาดปัญหา และ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบริษัทจะต้องปฏิบัติหน้าที่ตามคำชี้ขาด 5. กำหนดความรับผิดชอบทางกฎหมายของกรรมการตรวจสอบที่เหมาะสมและเท่าที่จำเป็น-
dc.description.abstractalternativeWhereas a listed company is able to raise funds from the general public for investment in its operation. In an effort to promote and further develop the capital market and to enhance trust of the people and investors in general, it is necessary for a listed company to have an audit committee to oversee and ensure that the Board of Directors and the management will comply with the laws, regulations, directives and the company’s policy. However, the relationship between the Board of Directors and the management may be that of mutual interest, or conflict of interest, which may be detrimental to the company and affecting the shareholders and the investors who are innocent. This is the main reason that the Securities Exchange has issued the notification, Re : Qualifications and Scope of Work of Audit Committee (No. 1) of 1999. Whereby, various procedures were set forth such as the audit committee member must be an independent Director with the duty to oversee the financial statements of the company to ensure accuracy. Thereby, the Board of Directors will be able to monitor the performance of the Management more closely. Unfortunately, in practice, it appears that this objective has not been achieved due to various obstacles, be it qualifications of the audit committee members, the body authorized to approve appointment of the audit committee members, the duties of audit committee members, procedure on solving conflicts between the Audit Committee themselves, or between the Audit Committee and the Board of Directors, and the legal responsibilities of the Audit Committee. Based on the studies, the suggestions for improvement and achieving the objective of establishment of the Audit Committee in a Thai listed company are as follows : 1. Every audit committee member must have sufficient time to perform his or her duties and must possess financial literacy. 2. The Board of Directors will approve appointment of the audit committee members, under advice and endorsement of the Securities Exchange. 3. The duties of the Audit Committee must be defined clearly. 4. Procedure on solving the conflicts between the audit committee themselves, or between the Audit Committee and the Board of Directors, must be established. Whereby, the decision will be made by the Securities Exchange, for which all concerned must comply. 5. Legal responsibilities of the Audit Committee must be defined as deemed appropriate and necessary.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectบรรษัทภิบาล-
dc.subjectกิจการร่วมค้า-
dc.subjectกฎหมายบริษัท-
dc.subjectคณะกรรมการตรวจสอบ-
dc.subjectคณะกรรมการบริษัท-
dc.subjectคณะกรรมการบริหาร-
dc.subjectGood corporate governance-
dc.subjectJoint ventures-
dc.subjectCorporation law-
dc.subjectAudit committees-
dc.subjectDirectors of corporations-
dc.subjectManagement committees-
dc.titleการกำกับดูแลกิจการที่ดี : ศึกษาในบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของ กรรมการตรวจสอบบริษัทจดทะเบียนen_US
dc.title.alternativeGood corporate governance : role, duty and responsibility of audit committee of a listed companyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Lirtlit_pe_front_p.pdfหน้าปก และ บทคัดย่อ836.64 kBAdobe PDFView/Open
Lirtlit_pe_ch0_p.pdfบทที่ 0716.58 kBAdobe PDFView/Open
Lirtlit_pe_ch1_p.pdfบทที่11.59 MBAdobe PDFView/Open
Lirtlit_pe_ch2_p.pdfบทที่ 21.47 MBAdobe PDFView/Open
Lirtlit_pe_ch3_p.pdfบทที่ 31.37 MBAdobe PDFView/Open
Lirtlit_pe_ch4_p.pdfบทที่ 41.16 MBAdobe PDFView/Open
Lirtlit_pe_ch5_p.pdfบทที่ 5781.53 kBAdobe PDFView/Open
Lirtlit_pe_back_p.pdfบรรณานุกรม และ ภาคผนวก653.62 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.