Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/645
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorคึกเดช กันตามระ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาทัศนศิลป์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2006-07-07T08:52:08Z-
dc.date.available2006-07-07T08:52:08Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/645-
dc.descriptionความสำคัญของพระพุทธปฏิมากร -- มูลเหตุที่เกิดสร้างพระพุทธรูป -- ชนชาติที่สร้างพระพุทธรูปครั้งแรก -- ลำดับสกุลช่างพระพุทธปฏิมากรในประเทศอินเดีย -- ลำดับสกุลช่างพระพุทธปฏิมากรในประเทศไทย -- สกุลช่างพระพุทธปฏิมากรที่คนไทยสร้าง -- สกุลช่างเชียงแสน -- สกุลช่างอยุธยา -- สกุลช่างรัตนโกสินทร์ -- ปกิณกะ บทขยายเกร็ดความรู้เบื้องต้น : มหาปุริสลักขณ -- ความแตกต่างของพระพุทธสิหิงค์ 3 องค์ -- พระหัตถ์แสดงปาง และลักษณะประทับนั่งในปางต่าง ๆ -- ความสำคัญของพระนามอัฎฐารศ ปางมารวิชัย ปางเปิดโลก ปางลีลา ปางเสด็จลงจากดาวดึงส์ -- คติการสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่อง -- สูตรและเกณฑ์สัดส่วนการสร้างพระพุทธรูป -- การห่มจีจรของพระภิกษุของมหานิกาย และธรรมยุติที่สะท้อนปรากฎในพระพุทธรูป -- คำราชาศัพท์ในพระพุทธรูปen
dc.description.abstractรายงานการวิจัยเรื่องนี้เป็นการศึกษาวิวัฒนาการ และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของศิลปะและสังคมจากรูปลักษณ์พระพุทธปฏิมากร เพื่อเสนอรายงานผลการวิจัยโดยอาศัยรูปลักษณ์พระพุทธปฏิมากรเป็นข้อมูลหลักในการศึกษาและทำการวิเคราะห์ให้เกิดความรู้ใหม่เกี่ยวกับวิถีชีวิตไทย ในด้านวิวัฒนาการของศิลปะและความสัมพันธ์ของสังคมทั้งสองอย่างควบคู่กันไป การศึกษารูปแบบของพระพุทธปฏิมากรที่มีการเปลี่ยนแปลงคลี่คลายมาโดยลำดับสมัยในประวัติศาสตร์ชาติไทย โดยเริ่มต้นตั้งแต่สมัยทวารวดี ศรีวิชัยหริภุญชัย ลพบุรี อู่ทอง สุโขทัย เชียงแสน อยุธยา และรัตนโกสินทร์ตาม ลำดับ การศึกษาโดยกำหนดยุคสมัยเพื่อเน้นให้เห็นวิวัฒนาการ จะทำให้เข้าใจเป็นลำดับง่ายขึ้น ซึ่งเนื้อหาส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของความคิดสร้างสรรค์ระหว่างพระมหากษัตริย์กับประชาชนที่ยึดมั่นนับถือพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติสืบต่อกันมา เผยให้รู้เรื่องราวและกระบวนการทางสังคมว่าองค์กรทั้งสองได้ร่วมมือกันสร้างพระพุทธปฏิมากรด้วยเหตุผลกลใดบ้าง มีคติความเชื่อต่อพระพุทธปฏิมากรอย่างไรหรือต่างกันอย่างไร ได้รับผลประโยชน์จากพระพุทธปฏิมากรอย่างไรบ้าง หรือด้านใดบ้าง และในแต่ละสมัยมีผลกระทบต่อสังคมอย่างไรen
dc.format.extent60244053 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพระพุทธรูป--ไทยen
dc.subjectประติมากรรมen
dc.subjectศิลปะกับสังคมen
dc.subjectสกุลช่างศิลป์en
dc.subjectศิลปกรรมพุทธศาสนา--ไทยen
dc.subjectประติมากรรมพุทธศาสนา--ไทยen
dc.subjectการครองผ้า (ภิกษุ)en
dc.titleการศึกษาวิวัฒนาการและการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของศิลปะและสังคมจากรูปลักษณ์พระพุทธปฏิมากรen
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของศิลปะและสังคมจากรูปลักษณ์พระพุทธปฏิมากรen
dc.typeTechnical Reporten
Appears in Collections:Fine Arts - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Krukdej.pdf25.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.