Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64796
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์-
dc.contributor.advisorกัญญา ศุภปีติพร-
dc.contributor.authorนลินี เหมวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-05T07:19:04Z-
dc.date.available2020-04-05T07:19:04Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64796-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractผู้ป่วยเด็กชายไทยคนหนึ่งได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคกระดูกเปราะกรรมพันธุ์ (osteogenesis imperfecta; OI) และโรคต่อมใต้สมองทำงานลดลง (combined pituitary hormone deficiency; CPHD) ผลจากการตรวจความผิดปกติทางพันธุกรรมโดยวิธี whole exome sequencing (WES) พบการเปลี่ยนแปลงชนิด p.G511C (c.1531G>T) ในยีน COL1A2 ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคกระดูกเปราะกรรมพันธุ์ โดยไม่พบการเปลี่ยนแปลงนี้ในพ่อและแม่ของผู้ป่วย (de novo mutation) อีกทั้งยังพบการเปลี่ยนแปลงชนิด p.R122W (c.364C>T) ในยีน LHX4 ซึ่งได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อของผู้ป่วยที่มีสุขภาพแข็งแรง ยีน LHX4 เป็นยีนที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาต่อมใต้สมองและระบบประสาท อีกทั้งยังเคยมีการรายงานว่ามีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคต่อมใต้สมองทำงานลดลง และมีลักษณะการแสดงออกแบบ incomplete penetrance ผลจากการทำ WES เพียงอย่างเดียวอาจจะไม่เพียงพอที่จะสรุปว่าการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวก่อให้เกิดโรคได้ การศึกษาครั้งนี้จึงมุ่งเน้นเพื่อประเมินการทำงานของยีน LHX4 ที่มีการเปลี่ยนแปลงชนิด p.R122W โดยทำการทดสอบกับโปรโมเตอร์ของยีน POU1F1, GH1 และ TSHB ในเซลล์ Chinese hamster ovary (CHO)-K1 และวัดระดับการแสดงออกด้วยเทคนิค luciferase reporter assay ผลการศึกษาพบว่าการเปลี่ยนแปลงชนิด p.R122W ไม่สามารถกระตุ้นการทำงานของโปรโมเตอร์ดังกล่าวได้ ซึ่งสอดคล้องกับอาการของผู้ป่วยที่มีภาวะพร่อง โกรทฮอร์โมนและไทรอยด์ฮอร์โมน จึงสรุปได้ว่าการศึกษาทางห้องปฏิบัติการสนับสนุนว่าการเปลี่ยนแปลงชนิด p.R122W ในยีน LHX4 ก่อให้เกิดโรคต่อมใต้สมองทำงานลดลง-
dc.description.abstractalternativeA Thai boy with features of osteogenesis imperfecta (OI) and combined pituitary hormone deficiency (CPHD) was identified. Whole exome sequencing (WES) identified that the child possessed a de novo novel heterozygous missense p.G511C (c.1531G>T) mutation in COL1A2 leading to OI and a heterozygous missense p.R122W (c.364C>T) variant in LHX4. His healthy father harbors the same LHX4 variant. LHX4 is a LIM homeodomain transcription factor playing an important role in the development pituitary gland and the nervous system. It is a gene known to be associated with CPHD with incomplete penetrance. This study aimed to determine whether the p.R122W (c.364C>T) variant in LHX4 is pathogenic. Using luciferase reporter assay, the p.R122W was found not able to activate POU1F1, GH1 and TSHB promoters, indicating that the variant is pathogenic. This suggests that the mutation in LHX4 is responsible for CPHD in the child.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1082-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationMedicine-
dc.subject.classificationMedicine-
dc.subject.classificationMedicine-
dc.titleการศึกษาเพื่อประเมินความผิดปกติของการเปลี่ยนแปลงชนิด p.R122W ในยีน LHX4 ในผู้ป่วยโรคต่อมใต้สมองทำงานลดลงและโรคกระดูกเปราะ-
dc.title.alternativeA study to determine pathogenicity of a missense p.R122W variant in the LHX4 gene in a patient with combined pituitary hormone deficiency and osteogenesis imperfecta-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การแพทย์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorVorasuk.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorKanya.Su@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1082-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5974116630.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.