Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64937
Title: | Zinc oxide/graphene nanocomposites as novel electrode for electrochemical sensor |
Other Titles: | ซิงก์ออกไซด์/แกรฟีนนาโนคอมพอสิตเพื่อเป็นขั้วไฟฟ้าชนิดใหม่สำหรับตัวรับรู้ทางเคมีไฟฟ้า |
Authors: | Pongsakorn Kongsittikul |
Advisors: | Orawon Chailapakul Nadnudda Rodthongkum |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Science |
Advisor's Email: | Orawon.C@Chula.ac.th Nadnudda.R@Chula.ac.th |
Issue Date: | 2016 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Zinc Oxide (ZnO) nanorods were prepared using zinc acetate as a precursor via modified thermal pyrolysis method and used to synthesize ZnO/graphene (ZnO/G) nanocomposites. The as prepared nanocomposites were successfully synthesized by a facile room-temperature approach using the colloidal coagulation effect. Afterwards, ZnO/G nanocomposites were used for electrode surface modification in an electrochemical sensor for the simultaneous determination of cadmium (Cd2+) and lead (Pb2+). The results obtained from transmission electron microscopy and scanning electron microscopy showed that ZnO nanarods with an average diameter of 93 ± 21 nm were uniformly dispersed on G nanosheets. Moreover, the factors affecting the electrochemical sensitivity of this system for the simultaneous determination of Cd2+ and Pb2+ were optimized using square-wave anodic stripping voltammetry. Under the optimized conditions, this system provided the detection limits (S/N=3) of 0.6 and 0.8 µg·L-1 for Cd2+ and Pb2+, respectively and a linear range was found to be 10-200 µg·L-1. Furthermore, this system provided the satisfied results for determination of Cd2+ and Pb2+ in wastewater samples compared with a standard inductively coupled plasma-optical emission spectroscopy. |
Other Abstract: | ซิงก์ออกไซด์ชนิดแท่งอนุภาคเล็กระดับนาโนถูกเตรียมผ่านกระบวนการสลายตัวทางความร้อนโดยใช้ซิงก์แอซิเทตไดไฮเดรทเป็นสารตั้งต้น จากนั้นซิงก์ออกไซด์ชนิดแท่งอนุภาคเล็กระดับนาโนจะถูกนำไปใช้ในการสังเคราะห์ซิงก์ออกไซด์/แกรฟีนนาโนคอมพอสิตด้วยเทคนิคการตกตะกอนร่วมของสารแขวนลอยภายใต้อุณหภูมิห้อง หลังจากนั้นซิงก์ออกไซด์/แกรฟีนนาโนคอมพอสิตที่สังเคราะห์ได้จะถูกนำมาใช้ในการดัดแปรพื้นที่ผิวของตัวรับรู้ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับการตรวจวัดแคดเมียมและตะกั่วสองชนิดพร้อมกัน จากผลการศึกษาสัณฐานวิทยาของซิงก์ออกไซด์และซิงก์ออกไซด์/แกรฟีนนาโนคอมพอสิตด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่านและส่องกราดพบว่า ซิงก์ออกไซด์ชนิดแท่งอนุภาคเล็กระดับนาโนมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของอนุภาคเฉลี่ยเท่ากับ 93±21 นาโนเมตร กระจายตัวอย่างสม่ำเสมอบนแผ่นแกรฟีน ยิ่งไปกว่านั้น ปัจจัยที่ส่งผลต่อความไวในการตรวจวัดแคดเมียมและตะกั่วของระบบนี้ถูกนำมาศึกษาและหาสภาวะที่เหมาะสมที่สุดด้วยเทคนิคแอโนดิกสทริปปิงโวลแทมเมตรี โดยภายใต้สภาวะที่เหมาะสม ระบบการตรวจวัดนี้มีขีดจำกัดในการตรวจวัดแคดเมียมและตะกั่วเป็น 0.6 และ 0.8 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ และสามารถวัดได้ต่ำในช่วง 10 ถึง 200 ไมโครกรัมต่อลิตร นอกจากนี้ระบบที่ใช้ในการตรวจวัดนี้ยังถูกนำไปประยุกต์ใช้สำหรับการตรวจวัดแคดเมียมและตะกั่วในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจากผลการดทดสอบพบว่าเทคนิคที่พัฒนาในงานวิจัยนี้ให้ผลที่ดีและสอดคล้องกับเทคนิคมาตรฐานอินดักทีฟลีคัพเพิลพลาสมาออพติคอลอิมิสชันสเปกโทรเมตรี |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2016 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Petrochemistry and Polymer Science |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64937 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1767 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2016.1767 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5672022623.pdf | 2.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.