Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65316
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุรธา วัฒนชีวะกุล-
dc.contributor.advisorไกรสร บารมีอวยชัย-
dc.contributor.authorเกียรติศักดิ์ ภมรไมตรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-15T07:45:01Z-
dc.date.available2020-04-15T07:45:01Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741718047-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65316-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractผลกระทบของวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดในประเทศไทย ลูกหนี้ทั้งที่เป็นนิติบุคคลและบุคคลธรรมดาต่างประสบปัญหาทางการเงินซึ่งไม่อาจชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ได้ทันที พระราชบัญญัติล้มละลายจึงได้มีการเพิ่มเติมกระบวนการฟื้นฟูกิจการเพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ที่เป็นนิติบุคคลให้สามารถดำเนินกิจการต่อไปได้โดยไม่ต้องล้มละลาย กรณีเกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดายังคงต้องถูกบังคับตามกฎหมายล้มละลายเติมซึ่งต้องตกเป็นบุคคลล้มละลายเท่านั้น ทั้งที่ลูกหนี้ดังกล่าวเป็นพื้นฐานทางเศรษฐกิจของประเทศที่สำคัญ ประกอบกับลูกหนี้ยังมีความสามารถในการชำระหนี้คืนให้แก่เจ้าหนี้ได้ ทำให้การตกเป็นบุคคลล้มละลายจึงไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมส่วนร่วมโดยแท้จริงได้ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวติดของกฎหมายล้มละลายในส่วนที่เกี่ยวกับมาตรการในการช่วยเหลือไม่ให้ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาต้องล้มละลาย ซึ่งจากการศึกษากฎหมายล้มละลายของประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา พบว่ามีการสร้างมาตรการทางกฎหมายขึ้นเพื่อเอื้อให้ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาให้มีโอกาสได้รับการจัดการหนี้อย่างเช่นลูกหนี้ที่เป็นนิติบุคคล โดยมาตรการดังกล่าวประกอบด้วยการให้อำนาจศาลใช้ดุพินิจและมีคำสั่งต่าง ๆ ในการจัดการของลูกหนี้ การบังคับหยุดพักชำระหนี้และการ กำจัดสิทธิของผู้เกี่ยวข้อง การปลดเปลื้องหนี้ และการยกเลิกมาตรการดังกล่าว เป็นต้น แต่จากการศึกษาหลักเกณฑ์ที่มีการเพิ่มเติมเข้ามาในพระราชบัญญัติล้มละลายของไทยเป็นเพียงเพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ที่เป็นนิติบุคคลเท่านั้น ซึ่งเป็นข้อจำกัดของกฎหมายล้มละลายของไทยที่ยังไม่มีความสมบูรณ์เพียงพอต่อการช่วยเหลือลูกหนี้ทุกรายอย่างแท้จริง และเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม สมควรกำหนดให้ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาได้รับโอกาสในการช่วยเหลือให้มีการจัดการหนี้ภายใต้กฎหมายล้มละลายของไทยด้วย ดังนั้นวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงเสนอแนวทางในการบัญญัติมาตรการในการช่วยเหลือไม่ให้ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา ดังนี้ 1. เสนอแนวทางในการกำหนดคุณสมบัติของลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา 2. กำหนดหลักเกณฑ์ในการแต่งตั้งผู้ดูแลจัดการหนี้ให้แก่ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา 3. เสนอแนวทางในการสร้างกระบวนการในการช่วยเหลือไม่ให้ลูกหนี้ต้องล้มละลาย 4. กำหนดหลักเกณฑ์การยกเลกมาตรการช่วยเหลือและการปลดเปลื้องหนี้ของลูกหนี้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้เสนอให้มีการเพิ่มเติมมาตรการในการช่วยเหลือไม่ให้ลูกหนี้ต้องล้มละลายในส่วนของการประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย ทั้งนี้เพื่อให้ลูกหนี้สามารถจัดการหนี้ได้ก่อนตกเป็นบุคคลล้มละลาย-
dc.description.abstractalternativeThe economic crisis in Thailand has caused many juristic persons and individuals to face financial difficulties, or not being able to pay back their debts to the creditor on time. Therefore, the Bankruptcy Act has added a restorative process which can help juristic persons to continue with their business with out facing bankruptcy. On the other hand, individuals are still bound by the Bankruptcy Act to go bankrupt. Under consideration that the debtors are foundation of country’s economic, and they have the capability to pay back their debts, forcing them to bankruptcy does not indeed beneficial to the society. The objective of this thesis is to explore the concept of measure to protect individuals from bankruptcy. From researches in bankruptcy laws of the United States and the United Kingdom, it is found that both contain measures to assist individuals to have debt management, similar to juristic persons. The measures allow court to use judgment in ordering debt management, postponement of due-date, as well as limitation to the persons’ right involved in the debt compromise. However, the research shows Thai Bankruptcy Act assistance only applies to those juristic persons. This limitation means that it is an incomplete process to protect all debtors. From the equity point of view, individuals should receive the same kind of assistance similarly to juristic persons under the same Bankruptcy Act. Consequently, this thesis proposes an approach to enact measures to protect individuals from bankruptcy as follows: 1. To set qualification for individuals debt owner. 2. To set standards for appointing debt handler for individuals. 3. To propose a way to create process to protect individuals from bankruptcy. 4. To set standard in cancellation of such protective measure. In conclusion, this thesis proposes an additional measure to assist a debtor to make a compromise with one’ creditor before facing bankruptcy.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectลูกหนี้en_US
dc.subjectล้มละลายen_US
dc.subjectDebtor and creditoren_US
dc.subjectBankruptcyen_US
dc.titleมาตรการในการช่วยเหลือไม่ให้ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาต้องล้มละลายen_US
dc.title.alternativeMeasures to protect individuals from bangruptcyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorKraisorn.bar@bbl.co.th-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kiattisak_pa_front.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ345.86 kBAdobe PDFView/Open
Kiattisak_pa_ch1.pdfบทที่ 1284.21 kBAdobe PDFView/Open
Kiattisak_pa_ch2.pdfบทที่ 2576.87 kBAdobe PDFView/Open
Kiattisak_pa_ch3.pdfบทที่ 31.65 MBAdobe PDFView/Open
Kiattisak_pa_ch4.pdfบทที่ 41.62 MBAdobe PDFView/Open
Kiattisak_pa_ch5.pdfบทที่ 5393.13 kBAdobe PDFView/Open
Kiattisak_pa_back.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก676.84 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.