Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65572
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระพงษ์ บุญโญภาส-
dc.contributor.authorคมสัน สุขมาก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-29T04:04:22Z-
dc.date.available2020-04-29T04:04:22Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741754604-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65572-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวความคิดแนวทฤษฎีและมาตรการบังคับใช้กฎหมายศึกษาถึงความแตกต่างของความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคลตลอดจนวิธีการลงโทษนิติบุคคลในประเทศไทยและอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ ค.ศ. 2000 ปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมายกับนิติบุคคลกระทำความผิด เพื่อนำมาวิเคราะห์กับหลักกฎหมายของประเทศไทยว่ากฎหมายของประเทศไทยมีบทบัญญัติที่เหมาะสม ในการคุมการกระทำของนิติบุคคลหรือไม่และศึกษาถึงความเป็นไปได้ทีจะนำเอามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคลตามอนุสัญญาสหประชาชาติมาปรับใช้ในประเทศไทย ผลการศึกษาวิจัยพบว่า กฎหมายอาญาและมาตรการลงโทษในทางอาญาที่ใช้แก่นิติบุคคลที่กระทำความผิดในรูปแบบอาชญากรรมข้ามชาติ ในปัจจุบันไม่อาจยับยั้งการกระทำความผิดได้ควรให้มีการออกพระราชบัญญัติเกี่ยวกับความผิดที่กระทำโดยองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติขึ้นมาโดยเฉพาะเพื่อป้องกันและปราบปรามการกระทำผิดที่เกิดขึ้นโดยองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ ในอันที่จะสามารถนำเอาตัวผู้กระทำผิดทีอยู่เบื้องหลังมาลงโทษ-
dc.description.abstractalternativeThe propose of this research is to study about the concept and measure of law enforcement and differences between Thai Law and The United Nation Convention against Transnational Organized Crime 2000 in various ways to find the liability of legal entities guilty and punish them. Also study in problems and obstacles in Thai law enforcement with Transnational Organized Criminals in form of legal entities. This research also look to any way we can adapt The United Nations Convention Against Transnational Organized Crime 2000 in case of Criminal Liability to create better enforce current Thai Law. The further purpose of this research is to create special legal provision that incorporate The United Nations Convention against Transnational Organized Crime 2000 in Thailand when there is a paucity เท current Thai Law that penalize and control transnational organized criminals. The goal is to protect the public and enforce laws against transnational organized criminals to bring not only criminals but also the supporting conspirators to justice.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอาชญากรรมข้ามชาติen_US
dc.subjectความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคลen_US
dc.subjectTransnational crimeen_US
dc.subjectCriminal liability of juristic personsen_US
dc.titleมาตรการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ : ศึกษากรณีความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคลen_US
dc.title.alternativeMeasures against transnational crime :en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorViraphong.B@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Khomsan_su_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ765.47 kBAdobe PDFView/Open
Khomsan_su_ch1_p.pdfบทที่ 1803.15 kBAdobe PDFView/Open
Khomsan_su_ch2_p.pdfบทที่ 21.51 MBAdobe PDFView/Open
Khomsan_su_ch3_p.pdfบทที่ 32.53 MBAdobe PDFView/Open
Khomsan_su_ch4_p.pdfบทที่ 42.15 MBAdobe PDFView/Open
Khomsan_su_ch5_p.pdfบทที่ 5856.5 kBAdobe PDFView/Open
Khomsan_su_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก722.8 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.