Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65725
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุลักษณ์ ศรีบุรี-
dc.contributor.authorกิตติมา เก่งเขตรกิจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-10T20:21:15Z-
dc.date.available2020-05-10T20:21:15Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.issn9741755627-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65725-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาหนังสือเรียนศิลปศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะด้านทัศนศิลป์ ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ กลุ่มครูผู้สอนในกลุ่มสาระการรัยนรู้ศิลปะ ด้านทัศนศิลป์ จำนวน 110 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม และกลุ่มนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตรและหนังสือเรียนศิลปศึกษา จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1.ครูผู้สอน มีความคิดเห็นด้วยมากที่สุด เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาหนังสือเรียนศิลปศึกษา กลุ่มสาระการะเรียนรู้ศิลปะด้านทัศนศิลป์ ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ในทุกด้าน คือ ด้านผู้แต่ง ผู้เรียบเรียง (X_ = 4.557) ด้านจุดประสงค์ของหนังสือ (X_ = 4.578) ด้านเนื้อหา (X_ = 4.603) ด้านกิจกรรมศิลปะ (X_ = 4.586) ด้านการอ้างอิง (X_ = 4.538) ด้านการใช้ภาษา (X_ = 4.588) ด้านการออกแบบรูปเล่ม (X_ = 4.614) ด้านคุณภาพการพิมพ์และการใช้เทคโนโลยีในการพิมพ์ (X_ = 4.642) 2. นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตรและหนังสือเรียน ศิลปศึกษา ได้ให้ข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1.ด้านผู้แต่ง ผู้เรียบเรียง ควรมีความสามารถด้านการใช้ภาษาที่ดี มีการแสวงหาความรู้อย่างกว้างขวาง สามารถนำเสนอเนื้อหาที่มีรูปแบบทันสมัยและน่าสนใจ 2.ด้านจุดประสงค์ของหนังสือ ควรแสดงจุดประสงค์ของหนังสือเยนศิลปศึกษาอย่างชัดเจน มุ่งเน้นการใช้หนังสือเรียนศิลปศึกษา เพื่อศึกษาค้นคว้าเนื้อหาสาระตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 3.ด้านเนื้อหา ควรมุ่งเน้นศิลปะจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทย และเนื้อหาควรมีความหลากหลายสามารถนำไปประยุกต์ให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนได้ 4.ด้านกิจกรรมศิลปะ ควรมีกิจกรรมศิลปะที่ให้ผู้เรียนเลือกปฏิบัติได้ตามความถนัดและความสนใจ 5.ด้านการอ้างอิง ควรอ้างอิงถูกต้องตามหลักวิชการ เหมาะสมกับระดับวัยของผู้อ่านและควรนำเสนอการอ้างอิงจากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย 6.ด้านการใช้ภาษา ควรใช้ภาษาที่ถูกต้อง สื่อความหมาย ชัดเจน และเข้าใจง่าย 7.ด้านการออกแบบรูปเล่ม หนังสือเรียนศิลปศึกษาควรมีลักษณะการออกแบบรูปเล่มที่แตกต่างกัน มีความทันและน่าสนใจ 8.ด้านคุณภาพการพิมพ์และการใช้เทคโนโลยีในการพิมพ์ เทคโนโลยีบทบาทในการค้นคว้าข้อมูลและส่งเสริมการผลิตหนังสือเรียนศิลปศึกษาให้มีคุณภาพ ในการพิมพ์ควรจัดพิมพ์สีเฉพาะที่จำเป็นเพื่อลดต้นทุนในการผลิต-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study guidelines for development of art education textbooks in visual arts learning strand of the third level, secondary grades 1-3 according to basic education curriculum B.E. 2544. The samples of this study were 110 teachers, the instrument used in this research was questionaire and 10 art educators and the specialists of art education curriculum development and textbooks, the instrument used in this research was the interview form. The collected data were analyzed by percentage, arithmetic mean, standard deviation and content analysis. The research findings were as followings: 1. Teachers strongly agreed with guidelines for development of art education textbooks in visual arts learning strand of the third level, secondary grades 1-3 according to basic education curriculum B.E. 2544 in all areas: the author (X_ = 4.557), objective of textbook (X_ = 4.578), content (X_ = 4.603), art activities (X_ = 4.586), reference (X_ = 4.538), language usage (X_ = 4.588), lay out and design (X_ = 4.614), the quality of printing and utilization of technology printing (X_ = 4.578) 2. The art educators and the specialists of art education curriculum development and textbooks suggested in each areas that: 1. The author and the editor should have ability in language efficiency and searching knowledge widely. The textbooks should present the interesting and modem content and attractive style. 2. The objective of textbook should be clearly, should be emphasized for the purpose of studying and supporting the content of the basic education curriculum B.E. 2544 3. The content should be emphasized based on Thai local wisdom, it should be variety and be able for teachers and students to apply with certain instruction. 4. Art activities introduced in textbooks should provide the students to select for practice as to their aptitude and interest. 5. The reference should be correct and appropriate with age level of readers and should refer to the reference from variety learning resources. 6. The language usage should be correct, clear, communicable and smooth 7. The lay out and design of art education textbooks should be variety, modem and attractive 8. The quality of printing and technology usage, technology had important role for information searching and supporting the quality of art education textbook production. The color printing should be considered for necessary and reduction of product cost.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectศิลปกรรม -- แบบเรียนen_US
dc.subjectศิลปกรรม -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectArt -- Textbooksen_US
dc.subjectArt -- Study and teaching (Secondary)en_US
dc.titleการศึกษาแนวทางการพัฒนาหนังสือเรียนศิลปศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ด้านทัศนศิลป์ ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544en_US
dc.title.alternativeA study of guidelines for developmen of art education textbooks in visual arts learning strand of the third level, secondary grades 1-3 according to basic education curriculum B.E. 2544en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineศิลปศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSulak.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kittima_ke_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ848.58 kBAdobe PDFView/Open
Kittima_ke_ch1_p.pdfบทที่ 11.08 MBAdobe PDFView/Open
Kittima_ke_ch2_p.pdfบทที่ 23.08 MBAdobe PDFView/Open
Kittima_ke_ch3_p.pdfบทที่ 3820.09 kBAdobe PDFView/Open
Kittima_ke_ch4_p.pdfบทที่ 43.55 MBAdobe PDFView/Open
Kittima_ke_ch5_p.pdfบทที่ 52.12 MBAdobe PDFView/Open
Kittima_ke_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.