Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65746
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิดานันท์ มลิทอง-
dc.contributor.authorศิริ หิรัญอุทก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-12T05:58:18Z-
dc.date.available2020-05-12T05:58:18Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741752334-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65746-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษาสภาพและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) ของโรงเรียนในโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝันสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบด้านไอซีที และครูผู้สอนจำนวน 348 คน ผู้วิจัยเก็บข้อมูลแต่ละโรงเรียนโดยใช้เครื่องมือคือ 1) แบบสอบถามครูผู้สอนและครูผู้รับผิดชอบด้านไอซีที 2)แบบสัมภาษณ์ผู้บริหาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ ผลการวิจัยโดยสรุปจากคำตอบที่ถูกระบุในระดับสูงและตามความสำคัญมีดังนี้ ในเรื่องสภาพไอซีทีของโรงเรียนพบว่า จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อห้องคือ 21-25 เครื่อง ฮาร์ดดิสก์คือ 20 GB. หน่วยความจำชั่วคราว 128 MB. อุปกรณ์เสริมการทำงานมีมากที่สุด 5 รายการคือ CD-R/CD-RW, Soundcard, Modem, ลำโพง และเครื่องพิมพ์หัวเข็ม อุปกรณ์คอมพิวเตอร์มีอายุการใช้งานมากกว่า 5 ปี และได้มาจากการบริจาคเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วย Modem มีคู่สายโทรศัพท์ขององค์การ (TOT) ฟรี ส่วนการใช้ไอซีที นั้นพบว่าปัจจุบันเป็นระยะเริ่มต้นของโครงการฯ ดังนั้นการใช้ไอซีทีของโรงเรียนจึงให้ความสำคัญเกี่ยวกับการเตรียมการด้านต่าง ๆ เพี่อรองรับการใช้ไอซีทีโดยเฉพาะการเตรียมการด้านบุคลากรทุกโรงเรียนให้ความ สำคัญมาก สำหรับการใช้ไอซีทีในด้านต่าง ๆ ที่ผู้วิจัยศึกษานั้นสรุปได้ดังนี้ 1)ด้านการ เตรียมการ มีการเตรียมเรื่องหลักสูตรเพี่อรองรับการใช้ไอซีที 2) ด้านการดำเนินการและการจัดกิจกรรม เพี่อการเรียนการสอน มีการแจ้งวัตถุประสงค์การใช้ไอซีทีก่อนทำการสอน 3) ด้านอาคารสถานที่ มีการจัดโครงสร้างพื้นฐานในระบบเครือข่าย 4) ด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านไอซีที 5) ด้านการประเมินผล มีการใช้ซอฟต์แวร์ในการประเมินผล 6) ด้านการสนับสนุนของมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยงจะให้ความสนับสนุนตามคำร้องขอ-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษาสภาพและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) ของโรงเรียนในโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝันสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบด้านไอซีที และครูผู้สอนจำนวน 348 คน ผู้วิจัยเก็บข้อมูลแต่ละโรงเรียนโดยใช้เครื่องมือคือ 1) แบบสอบถามครูผู้สอนและครูผู้รับผิดชอบด้านไอซีที 2)แบบสัมภาษณ์ผู้บริหาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ ผลการวิจัยโดยสรุปจากคำตอบที่ถูกระบุในระดับสูงและตามความสำคัญมีดังนี้ ในเรื่องสภาพไอซีทีของโรงเรียนพบว่า จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อห้องคือ 21-25 เครื่อง ฮาร์ดดิสก์คือ 20 GB. หน่วยความจำชั่วคราว 128 MB. อุปกรณ์เสริมการทำงานมีมากที่สุด 5 รายการคือ CD-R/CD-RW, Soundcard, Modem, ลำโพง และเครื่องพิมพ์หัวเข็ม อุปกรณ์คอมพิวเตอร์มีอายุการใช้งานมากกว่า 5 ปี และได้มาจากการบริจาคเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วย Modem มีคู่สายโทรศัพท์ขององค์การ (TOT) ฟรี ส่วนการใช้ไอซีที นั้นพบว่าปัจจุบันเป็นระยะเริ่มต้นของโครงการฯ ดังนั้นการใช้ไอซีทีของโรงเรียนจึงให้ความสำคัญเกี่ยวกับการเตรียมการด้านต่าง ๆ เพี่อรองรับการใช้ไอซีทีโดยเฉพาะการเตรียมการด้านบุคลากรทุกโรงเรียนให้ความ สำคัญมาก สำหรับการใช้ไอซีทีในด้านต่าง ๆ ที่ผู้วิจัยศึกษานั้นสรุปได้ดังนี้ 1)ด้านการ เตรียมการ มีการเตรียมเรื่องหลักสูตรเพี่อรองรับการใช้ไอซีที 2) ด้านการดำเนินการและการจัดกิจกรรม เพี่อการเรียนการสอน มีการแจ้งวัตถุประสงค์การใช้ไอซีทีก่อนทำการสอน 3) ด้านอาคารสถานที่ มีการจัดโครงสร้างพื้นฐานในระบบเครือข่าย 4) ด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านไอซีที 5) ด้านการประเมินผล มีการใช้ซอฟต์แวร์ในการประเมินผล 6) ด้านการสนับสนุนของมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยงจะให้ความสนับสนุนตามคำร้องขอ-
dc.description.abstractalternativeการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษาสภาพและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) ของโรงเรียนในโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝันสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบด้านไอซีที และครูผู้สอนจำนวน 348 คน ผู้วิจัยเก็บข้อมูลแต่ละโรงเรียนโดยใช้เครื่องมือคือ 1) แบบสอบถามครูผู้สอนและครูผู้รับผิดชอบด้านไอซีที 2)แบบสัมภาษณ์ผู้บริหาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ ผลการวิจัยโดยสรุปจากคำตอบที่ถูกระบุในระดับสูงและตามความสำคัญมีดังนี้ ในเรื่องสภาพไอซีทีของโรงเรียนพบว่า จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อห้องคือ 21-25 เครื่อง ฮาร์ดดิสก์คือ 20 GB. หน่วยความจำชั่วคราว 128 MB. อุปกรณ์เสริมการทำงานมีมากที่สุด 5 รายการคือ CD-R/CD-RW, Soundcard, Modem, ลำโพง และเครื่องพิมพ์หัวเข็ม อุปกรณ์คอมพิวเตอร์มีอายุการใช้งานมากกว่า 5 ปี และได้มาจากการบริจาคเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วย Modem มีคู่สายโทรศัพท์ขององค์การ (TOT) ฟรี ส่วนการใช้ไอซีที นั้นพบว่าปัจจุบันเป็นระยะเริ่มต้นของโครงการฯ ดังนั้นการใช้ไอซีทีของโรงเรียนจึงให้ความสำคัญเกี่ยวกับการเตรียมการด้านต่าง ๆ เพี่อรองรับการใช้ไอซีทีโดยเฉพาะการเตรียมการด้านบุคลากรทุกโรงเรียนให้ความ สำคัญมาก สำหรับการใช้ไอซีทีในด้านต่าง ๆ ที่ผู้วิจัยศึกษานั้นสรุปได้ดังนี้ 1)ด้านการ เตรียมการ มีการเตรียมเรื่องหลักสูตรเพี่อรองรับการใช้ไอซีที 2) ด้านการดำเนินการและการจัดกิจกรรม เพี่อการเรียนการสอน มีการแจ้งวัตถุประสงค์การใช้ไอซีทีก่อนทำการสอน 3) ด้านอาคารสถานที่ มีการจัดโครงสร้างพื้นฐานในระบบเครือข่าย 4) ด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านไอซีที 5) ด้านการประเมินผล มีการใช้ซอฟต์แวร์ในการประเมินผล 6) ด้านการสนับสนุนของมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยงจะให้ความสนับสนุนตามคำร้องขอ-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝันen_US
dc.subjectเทคโนโลยีทางการศึกษาen_US
dc.subjectนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศen_US
dc.subjectนโยบายการสื่อสารen_US
dc.subjectEducational technologyen_US
dc.subjectInformation technology policyen_US
dc.subjectCommunication policyen_US
dc.titleสภาพและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของโรงเรียน ในโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรีen_US
dc.title.alternativeState and implementations of information and communications technology in one amphur One Amphur One Lab Shcool Project under the jurisdiction of Suphanburi Educational Service Area Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKidanand.M@chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siri_hi_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ813.09 kBAdobe PDFView/Open
Siri_hi_ch1_p.pdfบทที่ 1920.05 kBAdobe PDFView/Open
Siri_hi_ch2_p.pdfบทที่ 21.36 MBAdobe PDFView/Open
Siri_hi_ch3_p.pdfบทที่ 3684.45 kBAdobe PDFView/Open
Siri_hi_ch4_p.pdfบทที่ 41.33 MBAdobe PDFView/Open
Siri_hi_ch5_p.pdfบทที่ 51.08 MBAdobe PDFView/Open
Siri_hi_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก2.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.