Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65948
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุริชัย หวันแก้ว-
dc.contributor.authorวิภารัตน์ พันธ์ฤทธิ์ดำ-
dc.date.accessioned2020-05-24T07:58:57Z-
dc.date.available2020-05-24T07:58:57Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740312527-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65948-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์สำคัญของการศึกษานี้ เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมการฟังดนตรีญี่ปุ่นของวัยรุ่นไทยในฐานะที่เป็นกิจกรรมการบริโภคอย่างหนึ่ง รวมทั้งศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมความนิยมดนตรีญี่ปุ่นของวัยรุ่นกับกระบวนการอัตลักษณ์ของวัยรุ่นผู้นิยมดนตรีญี่ปุ่น โดยใช้วิธีการวิสัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผลการวิจัยพบว่า สื่อ และเพื่อนของวัยรุ่นมีอิทธิพลทำให้วัยรุ่นได้รู้จักดนตรีญี่ปุ่นเทคนิคการสร้างความสุนทรียะทางดนตรีของเทคโนโลยีในยุคปัจจุบัน ทำให้วัยรุ่นเกิดจินตนาการและเพลิดเพลินกับความรื่นรมย์ที่ได้รับ วัยรุ่นแสวงหาความบันเทิงนี้ได้ทั้งทางวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือนิตยสาร รวมทั้งอินเตอร์เน็ต พวกเขามีพฤติกรรมความนิยมดนตรีญี่ป่นใน 2 กระบวนการ คือ กระบวนการลร้างและแสวงหาความโดดเด่น กับกระบวนการเลียนแบบ วัยรุ่นแสดงออกถึงอัตลักษณ์ที่โดดเด่นไปจากเพื่อนกลุ่มอื่น ๆ ที่ไม่นิยมดนตรีญี่ป่น ขณะเดียวกันอัตลักษณ์เหล่านั้นเกิดจากการเลียนแบบนักร้องดนตรีญี่ปุ่นที่พวกเขาฟัง แม้ดนตรีญี่ปุ่นจะเป็นเพียงวัฒนธรรมย่อยหนึ่งในสังคม แต่วัฒนธรรมของวัยรุ่นในสมัยปัจจุบันมักแสวงหาความแปลกใหม่ที่แตกต่างจาก วัฒนธรรมกระแสหลัก วัยรุ่นจึงฟังดนตรีญี่ปุ่นที่เป็นวัฒนธรรมย่อยหนึ่งของสังคมในฐานะวัฒนธรรมกระแสหลักของกลุ่ม พวกเขาได้แสดงออกถึงความเป็นตัวตน โดยการมาชุมนุมและทำกิจกรรมร่วมกันในทุก ๆ วันหยุด และทุกปีวัยรุ่นจะร่วมกันลัดงานคอนเสิร์ตรวมคนนิยมดนตรีญี่ปุ่นแสดงออกซึ่งอัตลักษณ์ร่วมของกลุ่มผ่านเรือนร่าง ด้วยการแต่งกายเลียนแบบนักร้องดนตรีญี่ปุ่นไปร่วมงาน แสดงท่าทางเหมือนนักร้องที่ตนแต่งกายเลียนแบบ และสร้างภาษาเฉพาะที่เข้าใจกันในกลุ่ม พฤติกรรมต่าง ๆ ที่แสดงออกเหล่านี้บ่งบอก ''ความเป็นตัวตน” ของวัยรุ่น และความเป็นตัวตนของวัยรุ่นก็เลื่อนไหลไปได้ตามบริบทที่เปลี่ยนไป-
dc.description.abstractalternativeThe thesis aims at understanding Thai adolescent’s identity in relation to their consumption behavior of Japanese pop music. The method of studying is qualitative research with participant observation and in-depth interview. The results show that media and peers play prominent role in influencing adolescents in encountering Japanese music. The music and the acoustic technology make adolescent fantasized and be happy. They access to the Japanese music through media such as radio, television, magazine and internet. Adolescent's listening behavior on Japanese music can be explained in to 2 process including distinction and imitation process. They represent their identity distinctively from their friends’ who does not listen to Japanese music. At the same time, they imitated Japanese musician’s identity. Although Japanese music represents a youth subculture in Thai society, Thai adolescents find Japanese music as the way in going beyond the dominant culture. Japanese music fan clubs struggle in situating their social and cultural location by assembling participate activity. In concert parties, Japanese music fan clubs show their collective identity through the uses of their bodies in dressing up and acting in a stylish way to enjoy the concert. In addition, they create their specific language which indicates adolescent’s individual and collective identity, and the identity of adolescent has also flowed along with the social context.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเอกลักษณ์ (จิตวิทยา) ในวัยรุ่น--ไทยen_US
dc.subjectวัยรุ่น--ไทยen_US
dc.subjectดนตรีกับเยาวชน--ไทยen_US
dc.subjectดนตรี--ญี่ปุ่นen_US
dc.subjectIdentity (Psychology) in adolescence--Thailanden_US
dc.subjectAdolescence--Thailanden_US
dc.subjectMusic and youth--Thailanden_US
dc.subjectMusic--Japanen_US
dc.titleอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างประเทศที่มีต่ออัตลักษณ์ของวัยรุ่นไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีดนตรีญี่ปุ่นen_US
dc.title.alternativeForeign cultural influence on Thai adolescent identity : a case study of Japanese musicen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสังคมวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSurichai.W@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Viparat_pa_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ806.17 kBAdobe PDFView/Open
Viparat_pa_ch1_p.pdfบทที่ 1781.18 kBAdobe PDFView/Open
Viparat_pa_ch2_p.pdfบทที่ 22.07 MBAdobe PDFView/Open
Viparat_pa_ch3_p.pdfบทที่ 3784.34 kBAdobe PDFView/Open
Viparat_pa_ch4_p.pdfบทที่ 43.98 MBAdobe PDFView/Open
Viparat_pa_ch5_p.pdfบทที่ 51.63 MBAdobe PDFView/Open
Viparat_pa_ch6_p.pdfบทที่ 6803.95 kBAdobe PDFView/Open
Viparat_pa_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก3.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.