Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66087
Title: | การเพิ่มอัตราผลผลิตสายการประกอบโช้คอัพของการผลิตโช้คอัพ |
Other Titles: | Productivity improvement for assembly line for shock absorber production |
Authors: | ธงชัย โชติเวที |
Advisors: | วันชัย ริจิรวนิช สมชาย พัวจินดาเนตร |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | Vanchai.R@chula.ac.th Somchai.Pua@Chula.ac.th |
Subjects: | การเพิ่มผลผลิตทางอุตสาหกรรม การจัดสมดุลสายการผลิต ระบบการผลิตแบบทันเวลา อุตสาหกรรมยานยนต์ Industrial productivity Assembly-line balancing Just-in-time systems Motor vechicle industry Shock absorbers |
Issue Date: | 2547 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการปรับปรุงอัตราผลผลิตโดยการจัดสมดุลสายการผลิตของสายการประกอบโช้คอัพ ผู้ศึกษางานวิจัยได้ทำการเลือกสายการประกอบ B เพื่อเป็นสายการประกอบตัวอย่างของโรงงาน ซึ่งในสายการประกอบตัวอย่างมีทั้งหมด 9 สถานีงานและได้ทำการปรับปรุงในสองรูปแบบ คือ Job Improvement และ Line balancing จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของสายการประกอบโดยมีอัตราผลผลิตเท่ากับ 1,986 ชิ้นต่อวัน และสามารถคำนวณประสิทธิภาพได้79.18% จากการจัดสมดุลงานใหม่ทำให้สถานีงานลดลงเหลือ 7 สถานีงาน และ Cycle Time ลดลงจาก 14.50 วินาที/ชิ้น ไปเป็น 13.55 วินาที/ชิ้น ซึ่งทำให้อัตราผลผลิตเพิ่มชิ้นเป็น 2,125 ชิ้นต่อวัน โดยสามารถคำนวณประสิทธิภาพของสายการประกอบได้เท่ากับ 92.83% ส่งผลให้อัตราผลผลิตเพิ่มขึ้น 6.99% |
Other Abstract: | The objective of this research is to study the automobile shock absorber assembly line in order to improve the productivity by balancing the production line. The shock absorber line B in the factory was chosen as a sample assembly line for analysis. There exist 9 stations handling. Improvement are made tin two dimension, ie., job improvement and line balancing. From the study it is revealed that the line efficiency with line production late of 1,986 units/day. Originally calculated at 79.18%. By rearrangement of make element, then, 7 stations are setup. The cycle time is reduced from 14.50 sec/unit is 13.55 sec/unit. Improvement of production rate and line efficiency into 2,125 units/day and 92.83% or productivity improvement by 6.99% |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมอุตสาหการ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66087 |
ISSN: | 9745313602 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thongchai_ch_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 977.38 kB | Adobe PDF | View/Open |
Thongchai_ch_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thongchai_ch_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 2.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thongchai_ch_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thongchai_ch_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 3.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thongchai_ch_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 3.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thongchai_ch_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 1.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thongchai_ch_back_p.pdf | รายการอ้างอิง และภาคผนวก | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.