Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66097
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชลิดา ลิปิกรณ์-
dc.contributor.authorกนกกานต์ ด่านสว่างกูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-31T06:58:54Z-
dc.date.available2020-05-31T06:58:54Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66097-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractในปัจจุบันผู้คนมีการใช้สื่อสังคมเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะทวิตเตอร์ซึ่งเป็นสื่อสังคมอิสระที่ให้ผู้ใช้งานสามารถแสดงความคิดเห็น ประสบการณ์หรือความรู้สึกต่อสิ่งต่าง ๆ รวมไปถึงการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ก็สามารถทำได้ง่าย ทำให้ผู้ใช้งานสามารถนำข้อมูลเหล่านั้นมาช่วยในการตัดสินใจได้ ตัวอย่างเช่นการนำข้อมูลบนทวิตเตอร์มาช่วยในการเลือกสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของสถานที่ท่องเที่ยวนั้น ๆ การวิเคราะห์ความรู้สึกของผู้สื่อสารผ่านสื่อสังคม จะสามารถนำมาใช้เพื่อประกอบการตัดสินใจเชิงธุรกิจในการพัฒนาและปรับปรุงสถานที่ท่องเที่ยวนั้นต่อไปได้ ซึ่งข้อมูลที่อยู่บนทวิตเตอร์จะมีทั้งข้อความ อิโมจิ และรูปภาพ ผู้จัดทำได้เห็นถึงความสำคัญของอิโมจิที่มีการใช้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการวิเคราะห์ว่าผู้ที่แสดงความคิดเห็นนั้นมีความรู้สึกอย่างไร แต่ก็ยังมีผู้นาอิโมจิมาวิเคราะห์ไม่มากนัก ผู้จัดทาจึงได้พัฒนาระบบวิเคราะห์ความรู้สึกจากอิโมจิเกี่ยวกับการท่องเที่ยวของผู้ใช้ทวิตเตอร์ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความรู้สึกของผู้ใช้งานทวิตเตอร์ออกเป็น 3 แบบ ได้แก่ ความรู้สึกเชิงบวก ความรู้สึกเชิงลบ และความรู้สึกเป็นกลาง ขั้นตอนการพัฒนาระบบประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอน คือ การรวบรวมข้อความทวีตจากทวิตเตอร์ การเตรียมข้อมูลสำหรับการนำไปวิเคราะห์ การเตรียมชุดข้อมูลสำหรับการนำไปวิเคราะห์ และการวิเคราะห์ความรู้สึกจากอิโมจิ จากนั้นผู้จัดทำจะเก็บผลการวิเคราะห์ไว้ในฐานข้อมูลเพื่อให้สามารถนำไปใช้วิเคราะห์และจำแนกข้อความทวีตรวมกับข้อมูลประเภทอื่น ๆ และนำมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทยต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, the number of people using social media increases tremendously. Twitter is one of several social media that allows users to express opinions, experiences or feelings towards various things including easy access to various information. Users can easily use this information to help them make decisions. For example, users can use information gained from Twitter to help them choose the tourist places of attraction which can affect the economy of those places. Sentiment analysis of those people communicating through social media can be used to make business decisions in the development and improvement of those places. Since the information on Twitter is in the form of text, emoji, and images, we have seen that emoji usage is getting more and more popular and emoji has become more and more important in analyzing the feelings of those who express their opinions on Twitter, but not that many sentiment analyses have been performed on emoji. Therefore, we developed a system to analyze the sentiment of Twitter users from emoji. The objective of the proposed sentiment analysis system based on emoji is to classify the sentiment of Twitter users into 3 categories which are positive, negative, and neutral. The system development process consists of 4 steps: collecting tweets, data preprocessing, preparing a data set for processing, and analyzing sentiment from emoji. Then, the results of the analysis are recorded in the database so that they can be used in combination with other forms of information on Twitter to further analyze and classify tweets on tourism in order to improve and develop the tourism industry in Thailand.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการวิเคราะห์ความรู้สึกจากอิโมจิเกี่ยวกับการท่องเที่ยวของผู้ใช้ทวิตเตอร์en_US
dc.title.alternativeTwitter user's sentiment analysis from emoji on tourismen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorRajalida.L@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanokkant_D_Se_2561.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.