Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66127
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ เพียรวณิช-
dc.contributor.authorศันสนีย์ แก้วมรกต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-31T14:38:11Z-
dc.date.available2020-05-31T14:38:11Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66127-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractปัจจุบันเชื้อที่ก่อให้เกิดวัณโรค (เชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis) เกิดการดื้อต่อยารักษา การดื้อยาของเชื้อโรคมักจะเกิดจากการที่เอนไซม์เป้าหมายของยารักษาโรคนั้นเกิดการกลายพันธุ์ ทาให้ยาไม่สามารถเข้าจับได้ จึงไม่สามารถยับยั้งการทางานของเอนไซม์นั้นได้ งานวิจัยนี้ศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้างการเข้าจับระหว่างอนุพันธ์ของไอโซไนอะซิดจานวน 30 ชนิด กับโครงสร้างของเอนไซม์ 9 โครงสร้าง คือเอนไซม์ของเชื้อวัณโรคชนิดดั้งเดิมและชนิดที่มีการกลายพันธุ์ ได้แก่ I21V, S94A, I47T, D148G, V203A, I215A, T266E และ T266D โดยใช้เทคนิคการคานวณการเข้าจับเชิงโมเลกุล ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการค้นคว้าและพัฒนายารักษาโรคตัวใหม่ที่มีประสิทธิภาพ ผลการคานวณพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างค่าพลังงานการเข้าจับกับค่าการออกฤทธิ์ทางชีวภาพของตัวยับยั้งที่เข้าจับกับเอนไซม์ของเชื้อวัณโรคชนิดดั้งเดิมนั้นไม่มีความสอดคล้องกัน และในเอนไซม์ชนิดดั้งเดิม พบว่า วงหลักของอนุพันธ์ไอโซไนอะซิดนั้นเกิดอันตรกิริยากับกรดอะมิโนชนิด Gly96, Phe97 และ Ala198 รวมทั้งเกิดพันธะไฮโดรเจนกับโมเลกุล NADH ที่อยู่ในโครงสร้างของตัวรับเป็นหลัก นอกจากนี้ยังพบว่าอนุพันธ์ของไอโซไนอะซิดส่วนใหญ่สามารถเข้าจับได้ดีกับเอนไซม์ของเชื้อวัณโรคชนิดกลายพันธุ์ V203A, I215A, T266E และ T266D และสุดท้ายพบว่าตัวยับยั้งชนิด 1i, 6i และLL-3858 น่าจะมีประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์กับเอนไซม์ชนิดกลายพันธุ์ได้ดี เนื่องจากมีลักษณะการเข้าจับของตัวมันเองในเอนไซม์ชนิดดั้งเดิมคล้ายกับชนิดที่มีการกลายพันธุ์en_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, Mycobacterium tuberculosis, which causes tuberculosis, has developed resistance to drug treatment. The resistance is usually caused by mutation in enzyme target, hence drug cannot suitably bind to the enzyme target and thus it cannot inhibit the enzyme function. In this research, molecular docking calculations between 30 isoniazid derivatives and 9 enzyme structures, wild type and 8 mutations, which are I21V, S94A, I47T, D148G, V203A, I215A, T266E and T266D, were carried out and compared. This research will be useful for research and development of new effective drugs. The results show that no relationship between binding energy and biological activity for wild type enzyme could be observed. In the wild type, the core structure of isoniazid derivatives interacts mainly with Gly96, Phe97, and Ala198 and it also form hydrogen bonding with NADH in the enzyme. In addition, most isoniazid derivatives bind well with V203A, I215A, T266E and T266D mutations. Finally, 1i, 6i and LL-3858 inhibitors are possible to inhibit the mutant enzymes as well because they can bind to the wild type and 8 mutants of enzyme with similar binding modes.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวัณโรคen_US
dc.subjectการคำนวณการเข้าจับเชิงโมเลกุลen_US
dc.titleการคำนวณการเข้าจับเชิงโมเลกุลระหว่างอนุพันธ์ของไอโซไนอะซิดกับเอนไซม์ของเชื้อวัณโรคดื้อยาen_US
dc.title.alternativeMolecular docking calculation between isoniazid derivatives and enzyme of drug-resistant tuberculosisen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sansanee Ka_SE_2560.pdf2.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.