Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66131
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธรรมนูญ หนูจักร | - |
dc.contributor.author | ประไพศรี กระจ่างวุฒิชัย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-05-31T14:48:31Z | - |
dc.date.available | 2020-05-31T14:48:31Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66131 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ทำการวิเคราะห์สารระเหยง่ายในตัวอย่างผักชีซึ่งเป็นพืชที่นิยมใช้ในการประกอบอาหารทั้งหมด 4 ส่วน ได้แก่ ราก ใบ ลำต้น และเม็ดด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี-แมสสเปกโทรเมตรี (GC-MS) โดยใช้เทคนิคเฮดสเปซโซลิดเฟสไมโครเอกซ์แทรกชัน (HS-SPME) ในการสกัดสารระเหยง่าย สภาวะของเครื่อง GC-MS ได้แก่ อัตราการเพิ่มอุณหภูมิ 1 ที่เหมาะสม คือ 5 องศาเซลเซียสต่อนาที และอัตราส่วนของสารที่เข้าคอลัมน์ ที่ทำให้สารแยกออกจากกันได้ดีที่สุด คือ อัตราส่วน 5:1 อุณหภูมิ HS-SPME ที่เหมาะสมในการสกัดสารระเหยง่ายในตัวอย่างผักชี คือ 60 องศาเซลเซียส และเวลา HS-SPME ที่เหมาะสมในการสกัดสารระเหยง่ายในตัวอย่างผักชี คือ 30 นาที จากนั้นทำการวิเคราะห์หาสารระเหยง่ายในตัวอย่างผักชีทั้ง 4 ส่วน เพื่อพิสูจน์ทราบเอกลักษณ์ของสารระเหยง่ายในผักชีโดยเปรียบเทียบกับฐานข้อมูล NIST14 สามารถพิสูจน์ทราบเอกลักษณ์ของสารระเหยง่ายได้ทั้งหมด 120 สาร จากนั้นนำพื้นที่ใต้พีกของสารระเหยง่ายในโครมาโทแกรมจากตัวอย่างผักชีมาคำนวณหา % Normalization เพื่อใช้ในประมวลผลโดยวิธีเคโมเมทริกซ์ชนิด PCA ด้วยโปรแกรม XLSTAT 2018 พบว่า สามารถแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 5 กลุ่ม คือ ตัวอย่างผักชีส่วนใบสด น้ำที่ผ่านการลวกจากส่วนใบและลำต้นผักชีกับใบที่ถูกนำไปลวกแล้ว ลำต้นผักชีสดและที่ถูกนำไปลวกแล้ว ตัวอย่างผักชีส่วนเม็ด และตัวอย่างผักชีส่วนราก | en_US |
dc.description.abstractalternative | In this research, volatile compounds in 4 parts (roots, leaves, stems and seeds) of coriander (Coriandrum sativum L.), that widely used for cooking were determined by gas chromatography-mass spectrometry (GC-MS) and using headspace solid phase microextraction (HS-SPME) for sample extraction. The suitable GC-MS conditions were obtained as follows: a ramp rate of 5°C/min, split ratio 5:1 HS-SPME extraction temperature of 60 °C and extraction time of 30 minutes. One hundred and twenty volatile compounds were identified by comparing their mass spectra with those in the NIST14 database. Using principal component analysis (PCA), the coriander could be classified into 5 groups with different patterns of PCA, in consistent with their parts : roots, leaves, stems, seeds and soft boiled water of leaves with stems and soft boiled leaves. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์สารระเหยง่ายในผักชีด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี-แมสสเปกโทรเมตรีร่วมกับเฮดสเปซโซลิดเฟสไมโครเอกซ์แทรกชัน | en_US |
dc.title.alternative | Analysis of volatile compounds in coriander using gas chromatography-mass spectrometry combined with headspace solid phase microextraction | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Thumnoon.N@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Prapaisri Kr_SE_2560.pdf | 4.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.