Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66224
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิปกา สุขภิรมย์ | - |
dc.contributor.author | กฤษฎา ร่วมรุ่งโรจน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-06-07T01:03:58Z | - |
dc.date.available | 2020-06-07T01:03:58Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66224 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556 | en_US |
dc.description.abstract | ในโครงงานนี้ได้สังเคราะห์ Layer Double Hydroxide (LDH) ทั้งหมด 3 ชนิดที่มีการแทนที่โลหะ ประจุ 4+ คือ เซอร์โคเนียม ซิลิกอน และไททาเนียม ในอัตราส่วนจำนวนโมล 0, 3, 6, 9, 12, และ15 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ด้วยเทคนิค Co-precipitation เพื่อนำมาใช้ในการดูดซับไอออนของสารหนูและ ตรวจสอบเอกลักษณ์โครงสร้างของ LDH ที่ได้ด้วยเทคนิค XRD และศึกษาความสามารถในการดูดซับ ไอออนของสารหนูด้วยเทคนิค ICP-OES โดยกำหนดสภาวะในการทดลองดังนี้ pH = 4, อุณหภูมิ Calcinations = 450 องศาเซลเซียส, เวลาในการดูดซับ = 48 ชั่วโมง และน้ำหนักของ LDH ต่อปริมาตร ของสารละลายสารหนู = 0.01 g/10 mL ผลการทดลองพบว่าความเป็นผลึกของ LDH มีแนวโน้มลดลง เมื่อเปอร์เซ็นต์ของโลหะ 4+ เพิ่มมากขึ้น และความสามารถในการดูดซับไอออนของสารหนูมีแนวโน้มดังนี้ Mg/Fe/Zr-LDH > Mg/Fe/Ti-LDH > Mg/Fe/Si-LDH ซึ่ง Mg/Fe/Zr-LDH มีความสามารถในการดูดซับมากที่สุด เนื่องจากขนาดไอออนของ Zirconium (4+) มีขนาดใหญ่ว่าขนาดไอออนของ Iron (3+) ดังนั้น เมื่อไอออน Iron (3+) ถูกแทนที่ด้วยไอออน Zirconium (4+) ทาให้ความกว้างของชั้นภายในโครงสร้างของ LDH เพิ่มมากขึ้นทำให้ความสามารถในการดูดซับเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้กระบวนการดูดซับไอออนของสารหนู ด้วยตัวดูดซับ LDH มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาแบบ Pseudo-second-order และแบบจำลองสมดุลในการ ดูดซับสอดคล้องกับแบบจำลองของ Freundlich | en_US |
dc.description.abstractalternative | In this study, a new series of Layer Double Hydroxide (LDH) containing Zr4+, Si4+ and Ti4+( 0%, 3%, 6%, 9%, 12% and 15% by mole) in the layer has been synthesized by a Co-precipitation method for removal of arsenate ions. The structural characteristics of LDH were examined by XRD method. The ability for arsenic removal of prepared LDHs by ICP method. The XRD patterns of LDH showed that the crystallinity of the material decreased with increasing metal 4+ content. The adsorption capacity of arsenate ion on Mg/Fe/Zr-LDH with contact time = 48 hour, dosage = 0.01g/10 mL, calcination temperature = 450 °C and pH = 4, had the highest adsorption capacity because ion radii of zirconium (4+) is larger than than that of iron ions (3+); therefore, the width of interlayer in LDH structure were expanded. Furthermore the adsorption of arsenate by LDH fit well with Freundlich Model and Pseudo second order kinetic model. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การกำจัดไอออน | en_US |
dc.subject | สารหนู | en_US |
dc.title | การเตรียมและดัดแปลงดินสังเคราะห์เพื่อประยุกต์ใช้ในการกำจัดไอออนของสารหนู | en_US |
dc.title.alternative | Preparation and modification of synthetic clays for removing arsenate ion | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Nipaka.S@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2556_15.pdf | 1.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.