Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66389
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ เพียรวณิช-
dc.contributor.authorรัชชานนท์ บุญถึง-
dc.contributor.authorจิตสุภา สุดโกทา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-15T14:20:32Z-
dc.date.available2020-06-15T14:20:32Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66389-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractสารกลุ่มฟลาโวนอยด์เป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่มีประโยชน์มากมายในการรักษา ยับยั้ง หรือป้องกันโรคต่าง ๆ แต่เนื่องจากโครงสร้างที่มีความสามารถละลายน้ำได้น้อยจึงมีการปรับปรุงโดยการทำการเอนแคปซูลเลชันเพื่อทำให้มีความสามารถละลายน้ำได้สูงขึ้น อย่างไรก็ตามการทดลองในห้องปฏิบัติการพบว่าผลของการเอนแคปซูลเลชันทำให้โครงสร้างของสารกลุ่มฟลาโวนอยด์เปลี่ยนแปลงไป และทาให้ประสิทธิภาพลดลง ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาการเข้าจับระหว่างสารกลุ่มฟลาโวนอยด์จำนวน 10 ชนิดกับเบต้าไซโคลเด็กซ์ตริน โดยใช้เทคนิคการคำนวณการเข้าจับเชิงโมเลกุลด้วยโปรแกรม Audock-Vina เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับรูปแบบการเข้าจับ นอกจากนี้ได้ศึกษาผลของชนิดเบต้าไซโคลเด็กซ์ตรินที่แตกต่างกัน 2 แบบ คือ โครงสร้างที่มีการจับกับโปรตีน และไม่ได้จับกับโปรตีน ผลการคำนวณพบว่าโครงสร้างที่มีการจับกับโปรตีนสามารถจับกับสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ได้ดีกว่า และเมื่อทำการเปรียบเทียบรูปแบบการเข้าจับของสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ทั้ง 10 ชนิดพบว่าหมู่แทนที่ในโครงสร้างของสารกลุ่มฟลาโวนอยด์มีผลต่อการเข้าจับ จากนั้นได้คำนวณสมบัติความชอบน้ำมันของสารเฉพาะส่วนของโมเลกุลที่เข้าไปอยู่ในโพรงของเบต้าไซโคลเด็กซ์ตรินของสารทั้ง 10 ชนิด พบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับรูปแบบการเข้าจับen_US
dc.description.abstractalternativeSeveral flavonoids have potent antioxidant activities, which are very useful for treating, inhabiting or preventing many diseases. As their less soluble in water, encapsulation technique has been applied to increase their water solubility. However, it was experimentally found that the encapsulation alters geometry of the compound and thus reduces its potency. In this study, the binding between 10 flavonoids and β-cyclodextrin was investigated by means of molecular docking technique using Autodock-Vina software to determine relationship between structure and binding pattern. In addition, effect of β-cyclodextrin conformation was also studied by using two different conformations, i.e. with and without protein complexation. Results show that the β-cyclodextrin in complex form can bind with flavonoids better than the non-complex form does. Comparative analysis on the binding of 10 different flavonoids, it was found that a substituent group in flavonoids influencesits binding. Moreover, lipophilicity of a moiety of 10 flavonoids that was inserted into the cavity of β-cyclodextrin was computed. No relationship between lipophilicity and binding was found.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectฟลาโวนอยส์en_US
dc.subjectเบต้าไซโคลเดกซ์ทรินen_US
dc.titleการหาความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับรูปแบบการเข้าจับระหว่างสารกลุ่มฟลาโวนอยด์กับเบต้าไซโคลเด็กซ์ตรินด้วยเทคนิคการเข้าจับเชิงโมเลกุลen_US
dc.title.alternativeDetermination of relationship between structure and binding mode of flavanoids and β-cyclodextrin using molecular docking techniqueen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorSomsak.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2556_37.pdf8.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.