Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66419
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์-
dc.contributor.advisorวสันต์ อุทัยเฉลิม-
dc.contributor.authorสมศักดิ์ คงเจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-17T02:59:32Z-
dc.date.available2020-06-17T02:59:32Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66419-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาดูผลของยาสไปโรโนแลคโตนต่อการทำงานของหัวใจช่วงคลายตัวในผู้ป่วยที่มีหัวใจล้มเหลวเนื่องจากการทำงานของหัวใจช่วงบีบตัวผิดปกติปานกลางถึงรุนแรง และมีระดับความรุนแรงของอาการเหนื่อยปานกลางถึงรุนแรง วิธีดำเนินการ ได้ทำการศึกษาแบบไปข้างหน้า ในผู้ป่วยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ที่มีหัวใจล้มเหลวเนื่องจากการทำงานของหัวใจช่วงบีบตัวผิดปกติ 14 รายที่มีการบีบตัวของหัวใจน้อยกว่า 40 เปอร์เซ็นต์ และ กำลังได้ยา angiotensin-converting enzyme inhibitors และยาขับปัสสาวะ. ผู้ป่วยทุกคน จะได้รับการสุ่มเพื่อแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ได้ spironolactone 25 mg วันละครั้ง และกลุ่มที่ไม่ได้ spironolactone ผู้ปวยทุกคนจะได้รับการติดตามการรักษาเป็นระยะและได้รับการตรวจคลื่นสะท้อนเสียงเพื่อประเมินการทำงานของหัวใจช่วงคลายตัวที่เปลี่ยนแปลงไปหลังการรักษา 6 เดือน ผลการศึกษา จากผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลวจำนวน 14 ราย การให้ยา spironolactone ทำให้การรูปแบบการทำงานของหัวใจช่วงคลายตัวดีขึ้น 2 ใน 4 ราย (50%) เทียบกับ กลุ่ม control ซึ่งไม่พบรูปแบบการทำงานของหัวใจช่วงคลายตัวดีขึ้น แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุป การให้ยา spironolactone ในผู้ป่วยที่มีหัวใจล้มเหลวเนื่องจากการทำงานของหัวใจช่วงบีบตัวผิดปกติปานกลางถึงรุนแรงมีแนวโน้มทำให้การทำงานของหัวใจช่วงคลายตัวดีขึ้น-
dc.description.abstractalternativeObjectives : To determine the effects of oral spironolactone on left ventricular diastolic function in moderate to severe systolic heart failure patients Methods : We enrolled 14 congestive heart failure patients with left ventricular ejection fraction less than 40 percent and on angiotensin-converting enzyme inhibitors, and diuretics. All patients were randomly assigned to receive either 25 mg- of oral spironolactone daily (n=7) or none (n=7). At baseline and after 6 months of treatment, echocardiography with doppler measurements of LV peak flow velocities during early filling and atrial contraction, deceleration time and isovolumic relaxation time were performed. The measured values were classified to diastolic function patterns as abnormal relaxation, pseudonormalization, and restrictive patterns. Results : The 2 of 4 patients (50%) in spironolactone group showed an improvement in left ventricular diastolic function pattern compared to none (0%) in the control group, however this effect had no statistically significant difference. Conclusion : In moderate to severe systolic heart failure patients, oral spironolactone may improve diastolic function pattern.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectHeart failure, Congestive-
dc.subjectSpironolactone-
dc.subjectหัวใจวาย-
dc.titleผลของยาสไปโรโนแลคโตนต่อการทำงานของหัวใจช่วงคลายตัวในผู้ป่วยที่มีหัวใจล้มเหลวเนื่องจากการทำงานของหัวใจช่วงบีบตัวผิดปกติ-
dc.title.alternativeEffects of spironolactone on diastolic function in systolic dysfunction congestive heart failure patients-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somsak_kh_front_p.pdf770.15 kBAdobe PDFView/Open
Somsak_kh_ch1_p.pdf705.42 kBAdobe PDFView/Open
Somsak_kh_ch2_p.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_kh_ch3_p.pdf945.05 kBAdobe PDFView/Open
Somsak_kh_ch4_p.pdf799.76 kBAdobe PDFView/Open
Somsak_kh_ch5_p.pdf693.13 kBAdobe PDFView/Open
Somsak_kh_back_p.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.