Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66426
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นงนุช เหมืองสิน | - |
dc.contributor.advisor | ณรงค์ ประไพรักษ์สิทธิ์ | - |
dc.contributor.author | จิรพัฒน์ พงษ์สกุล | - |
dc.contributor.author | วิรยา สิงห์โต | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-06-17T04:46:22Z | - |
dc.date.available | 2020-06-17T04:46:22Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66426 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557 | en_US |
dc.description.abstract | การควบคุมการปลดปล่อยพิวรารินโดยใช้บีดไคโตซานและคาราจีแนนเพื่อการศึกษา โดยนำพิวราริน, ไคโตซานและคาราจีแนนมากวนให้เป็นเนื้อเดียวกันที่อุณหภูมิห้อง ทำการขึ้นรูปบีดโดยหยดในสารละลายผสม ระหว่างโซเดียมไตรโพลิฟอสเฟตและโพแทสเซียมคลอไรด์ จากนั้นพิสูจน์เอกลักษณ์ด้วยเทคนิคอินฟาเรดสเปก โตรสโคปี และหาเปอร์เซ็นต์การกักเก็บยา (%Encapsulation) ด้วยเทคนิคยูวีวิซิเบิลสเปกโตรสโคปี ทำ ให้ทราบ ว่าบีดสามารถกักเก็บยาได้ ที่อัตราส่วนไคโตซานและคาราจีแนน:พิวรารินเท่ากับ 1:2 ให้ค่าเปอร์เซ็นต์การกัก เก็บยาที่สูงที่สุดเท่ากับ 88.9% จากนั้นนำ มาศึกษาการควบคุมการปลดปล่อยพิวรารินในสภาวะจำลองบริเวณ กระเพาะอาหาร (pH 1.2), ลำไส้เล็กตอนต้น (pH 6.4) และลำไส้เล็กตอนปลาย (pH 7.4) พบว่าบีดสามารถยืด ระยะเวลาการปลดปล่อยพิวรารินได้มากกว่า 6 ชั่วโมงและปลดปล่อยออกมาจนหมดภายในระยะเวลา 24ชั่วโมง | en_US |
dc.description.abstractalternative | The controlled release of Puerarin using Chitosan and Carrageenan have been studied. Chitosan, Carageenan and Puerarin were stirred until becoming homogeneous at room temperature. The mixtures were subsequently dropped into NaOH solution and KCl solution to form beads. Thesebeads were characterized using FT-IR. The optimal formulation was obtained with Chitosan and Carrageenan/Puerarin proportion of 1/2. This formulation yielded the highest percentage of encapsulation of 88.9%. The controlled release of Puerarin in the simulated gastrointestinal condition, Stomach (pH 1.2), Duodenum (pH 6.4) and Ileum (pH 7.4) were investigated. The developed formulation was able to prolong the release of Puerarin for more than 6 hours and can be released completely from the beads within 24 hours. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การเตรียมพอลิเมอร์คอมโพสิตของไคโตซานและคาราจีแนนสำหรับควบคุมการปลดปล่อยพิวราริน | en_US |
dc.title.alternative | Preparation of polymer composites using chitosan and carageenan for controlled release of puerarin | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Nongnuj.J@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Narong.Pr@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2557_2.pdf | 2.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.