Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66427
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภานุวัฒน์ ผดุงรส-
dc.contributor.authorอุมารัตน์ อุมา-
dc.contributor.authorพรรณชนก เวชรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-17T04:49:46Z-
dc.date.available2020-06-17T04:49:46Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66427-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.description.abstractกลูโคซามีนเป็นคาร์โบไฮเดรตที่สามารถสังเคราะห์ได้จากการย่อยสลายไคตินที่มีในเปลือกกุ้ง ซึ่งในประเทศไทยมี เปลือกกุ้งเหลือทิ้งเป็นจำนวนมาก ดังนั้นการนำกลูโคซามีนมาผ่านกระบวนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างให้เกิดประโยชน์ ทางเคมีจะเป็นการเพิ่มมูลค่าแก่เปลือกกุ้งเหลือทิ้งดังกล่าว งานวิจัยก่อนหน้านี้พบว่ากลูโคซามีนสามารถเกิดปฏิกิริยาการ ควบแน่นโดยมี phenylboronic acid เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาให้ผลิตภัณฑ์เป็นดีออกซีฟรุกโตซาซีนซึ่งเป็นอนุพันธ์ของ ไพราซีนได้ โดยปฏิกิริยาสามารถเกิดได้ที่อุณหภูมิห้องและใช้สภาวะที่ไม่รุนแรง ในงานวิจัยนี้คณะผู้วิจัยได้สังเคราะห์และ พัฒนาวิธีการทำบริสุทธิ์ของดีออกซีฟรุกโตซาซีนในปริมาณสูง (large scale synthesis) โดยสามารถสังเคราะห์ดีออกซี ฟรุกโตซาซีนบริสุทธิ์ได้ถึง 15 กรัม นอกจากนี้ยังสามารถนำตัวเร่งปฏิกิริยา phenylboronic acid กลับมาใช้ซ้ำได้อย่าง น้อย 7 ครั้ง จากนั้นจึงสังเคราะห์อนุพันธ์ของดีออกซีฟรุกโตซาซีนที่ได้ให้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาอินทรีย์ (organocatalyst) โดยการปกป้องหมู่ไฮดรอกซีของดีออกซีฟรุกโตซาซีนด้วยหมู่อะเซตโตไนด์ (acetonide) และหมู่เบนซิล (benzyl) ได้ ผลิตภัณฑ์คือ 2-((S)-2-(benzyloxy)-2-((R)-2,2-dimethyl-1,3-dioxolan-4-yl)ethyl)-5-((4S,4'R,5R)-2,2,2',2'- tetramethyl-[4,4'-bi(1,3-dioxolan)]-5-yl)pyrazine คิดเป็น 3 %yield จากปฏิกิริยาทั้งสิ้น 3 ขั้นตอน จากนั้น คณะผู้วิจัยจึงศึกษาความสามารถในการเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเอซิลเลชันด้วยอนุพันธ์ดีออกซีฟรุกโตซาซีนที่ได้ โดยมี propionic anhydride เป็น acylating agent ใช้เทคนิค 1H NMR spectroscopy ติดตามการเกิดสารประกอบเชิงซ้อน ระหว่างอนุพันธ์ดีออกซีฟรุกโตซาซีนและ propionic anhydride อย่างไรก็ตามผลการศึกษาในเบื้องต้น พบการเกิด สารประกอบเชิงซ้อนระหว่างอนุพันธ์ดีออกซีฟรุกโตซาซีนและ propionic anhydride อย่างอ่อน ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจาก หลายปัจจัยเช่น ความว่องไวต่อปฏิกิริยาของ acylating agent ชนิดของหมู่ปกป้องซึ่งส่งผลต่อความว่องไวต่อปฏิกิริยา ของอนุพันธ์ ดีออกซีฟรุกโตซาซีน ระยะเวลาและอุณหภูมิในการทดลอง ดังนั้นคณะผู้วิจัยจะต้องศึกษาสภาวะที่เหมาะสม ต่อไปในอนาคตเพื่อพัฒนาอนุพันธ์ดีออกซีฟรุกโตซาซีนให้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาอินทรีย์en_US
dc.description.abstractalternativeGlucosamine is carbohydrate derived from hydrolysis of chitin. Chitin is one of the most abundance oligosaccharide mainly found in shrimp and crustacean skeleton. Seafood industry in Thailand produces large amount of waste from shrimp skeleton, thus a utilization of this waste by chemical processes will be beneficial for a whole industry. Glucosamine undergoes a selfcondensation catalyzed by phenylboronic acid to provide deoxyfructosazine in good yield. However, due to its high polarity, large scale synthesis of deoxyfructosazine is challenging because of difficulty in purification. Herein, we report a practical procedure for large scale synthesis of deoxyfructosazine catalyzed by phenylboronic acid. The deoxyfructosazine is successfully produced up to 15 grams and phenylboronic catalyst is also reused for at least 7 times. Protecting group manipulation of deoxyfructosazine is then developed in order to apply this pyrazine derivative as an organocatalyst for selective acylation. Acetonide protection and benzylation provide the desired deoxyfructosazine derivertive 2-((S)-2-(benzyloxy)-2-((R)-2,2-dimethyl-1,3-dioxolan-4-yl)ethyl)-5-((4S,4'R,5R)-2,2,2',2'- tetramethyl-[4,4'-bi(1,3-dioxolan)]-5-yl)pyrazine in 3 %yield over 3 steps. Complexation between deoxyfructosazine derivative and propionic anhydride is investigated by 1H NMR spectroscopy. However, the preliminary result shows that there is a weak complex formation between deoxyfructosazine derivative and propionic anhydride. Thus there are many factors that could be applied to improve the complexation such as reactivity of acylating agent, protecting groups on deoxyfructosazine, reaction time and temperature. Further study will be pursued in order to achieve organocatalyst from deoxyfructosazine.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการสังเคราะห์สารประกอบไพราซีนจากกลูโคซามีนเพื่อใช้สำหรับเป็นตัวเร่งปฏิกริยาทางเคมีen_US
dc.title.alternativeSynthesis of pyrazine derivatives from glucosamine and their application as organocatalystsen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorPanuwat.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2557_3.pdf4.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.