Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66523
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์-
dc.contributor.authorกัญจนี ศรีโสภา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2020-06-22T04:26:00Z-
dc.date.available2020-06-22T04:26:00Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741749538-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66523-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยคัดสรรด้านครอบครัวที่สัมพันธ์กับการติด ยาเสพติดของวัยรุ่นชายตอนกลางในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 186 คน โดย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มวัยรุ่นชายที่ติดยาเสพติดในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดลาดหลุมแก้ว อายุ 15 – 18 ปี จำนวน 96 คน และกลุ่มนักเรียนวัยรุ่นชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 5 และ 6 ที่ไม่ติดยาเสพติด โรงเรียนวัดสระเกศ โรงเรียนปทุมคงคา และโรงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคม อายุ 15 - 18 ปี จำนวน 90 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสำรวจภูมิหลังของกลุ่มตัวอย่าง และแบบสอบถามประเมินการ ทำหน้าที่ของครอบครัวของ Chulalongkorn Family Inventory: CFI ซึ่งพัฒนาโดย พญ. อุมาพร ตรังคสมบัติ นำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์การจำแนกกลุ่ม (Discriminant Analysis) แบบขั้นตอน (Stepwise) โดยใช้สถิติวิลด์สแลมดา (Wilks's Lambda) เป็นเกณฑ์ใน การคัดเลือกตัวแปรเข้าวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า จากการวิเคราะห์ผลข้อมูล ด้วยเทคนิคการจำแนกกลุ่ม ปรากฎว่า มี ตัวแปรจำนวน 3 ตัวแปร ที่สามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างกลุ่มวัยรุ่นชายที่ติดยาเสพติด และกลุ่มนักเรียนวัยรุ่นชายที่ไม่ติดยาเสพติด ได้ร้อยละ 16 ซึ่งตัวแปร 3 ตัวแปรดังกล่าว ถือเป็น ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับวัยรุ่นชายที่ติดยาเสพติดในกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้แก่ปัจจัยดังต่อไปนี้ คือ (1) สถานภาพการสมรสของพ่อแม่ (2) การทำหน้าที่ของครอบครัว และ (3) ลำดับการเกิด (เรียง ตามลำดับความสำคัญจากค่าสัมประสิทธิ์ คาโนนิคัลมาตรฐาน Ci)-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the selected factors related to middle adolescents male drug addict in Bangkok. The samples were 186 middle adolescents male drug addict divided into 2 groups: (1) 96 middle adolescents male drug addict in hospital, aged 15 - 18. (2) 90 Matayomsuksa 4, 5 and 6 male adolescent students of the same age. The research instruments were the personal data questionnaire, Chulalongkorn Family Inventory developed by Umaporn Trangkasombut. The data were analyzed by the discriminant analysis technique with stepwise method. Wilks' Lambda was used for the entry criterion. The results showed that 3 variables accounted for significant difference between middle adolescents male drug addict and middle adolescent male students. The 3 variables that related to middle adolescents male drug addict are: (1) Parent Marital Status (2) Family Functions and (3) Birth - Order-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการติดยาเสพติดen_US
dc.subjectวัยรุ่น -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectครอบครัวen_US
dc.titleปัจจัยคัดสรรด้านครอบครัวที่สัมพันธ์กับการติดยาเสพติดของวัยรุ่นชายตอนกลางในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeSelected family factors related to drug addiction of male adolescents in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPuntip.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanchanee_sr_front_p.pdf847.8 kBAdobe PDFView/Open
Kanchanee_sr_ch1_p.pdf2.59 MBAdobe PDFView/Open
Kanchanee_sr_ch2_p.pdf895.76 kBAdobe PDFView/Open
Kanchanee_sr_ch3_p.pdf880 kBAdobe PDFView/Open
Kanchanee_sr_ch4_p.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Kanchanee_sr_ch5_p.pdf730.39 kBAdobe PDFView/Open
Kanchanee_sr_back_p.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.