Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66531
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิชาติ อิ่มยิ้ม-
dc.contributor.authorอุรัสยา ศิลป์เจริญ-
dc.contributor.authorธัญญาสร อมรศักดิ์โสภณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-22T07:13:54Z-
dc.date.available2020-06-22T07:13:54Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66531-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษาการแยกอาร์เซนิก(III) และอาร์เซนิก(V) ในน้ำด้วยเรซินแลกเปลี่ยนไอออนลบ ด้วย วิธี Inductively Coupled Plasma-Optical Emission Spectrometry (ICP-OES) เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณอาร์เซนิก (III) และอาร์เซนิก(V) ในน้ำ และศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการดูดซับอาร์เซไนต์และอาร์เซเนตไอออน ได้แก่ เวลาที่ใช้ในการดูดซับ ค่าความเป็นกรดเบสของสารละลาย และอัตราการไหลของสารละลาย ในงานวิจัยนี้ ทดสอบการดูดซับแบบแบทช์ (batch) และแบบคอลัมน์ขนาดจิ๋ว (minicolumn) จากการทดสอบการดูดซับแบบ แบทช์โดยใช้สารละลายอาร์เซนิก(V) ที่ความเข้มข้น 8 mg/L พบว่าค่าความเป็นกรด-เบสของสารละลายและเวลา ที่ให้ประสิทธิภาพในการดูดซับที่ดีที่สุด คือ พีเอช 8 เป็นเวลา 120 นาที โดยจากทดลองพบว่าเรซินแลกเปลี่ยน ไอออนลบสามารถดูดซับอาร์เซนิก(V) ได้ดีกว่าอาร์เซนิก(III) และจากการทดสอบแบบคอลัมน์ขนาดจิ๋ว พบว่า กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1 M สามารถชะปริมาณอาร์เซนิก(V) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และอัตราการไหล คือ 0.47 mL/min โดยน้ำตัวอย่างที่นำมาใช้ในการทดลองครั้งนี้ ได้แก่ น้ำสระจุฬาฯ, น้ำบาดาล และน้ำเสียตัวอย่าง จากแหล่งอุตสาหกรรม ซึ่งจากการทดลองแสดงให้เห็นว่าเรซินแลกเปลี่ยนไอออนลบให้ประสิทธิภาพที่ดีในการ แยกอาร์เซนิก(III) และอาร์เซนิก(V) ในน้ำด้วยวิธี ICP-OESen_US
dc.description.abstractalternativeA separation of arsenic(III) and arsenic(V) in water using strong base anion exchange resin (DOWEX MARATHON® A) for determination by Inductively Coupled Plasma-Optical Emission Spectroscopy (ICPOES) was studied. The effects of adsorption time, pH value and flow rate on the adsorption of arsenic(III) and arsenic(V) were studied using batch and mini-column methods. Optimal conditions in batch adsorption experiments by using 8 mg/L of arsenic solution were at pH 8 and 120 minutes of adsorption time. The result attained revealed that the strong base anion exchange resin could adsorb arsenic(V) while arsenic(III) was passed through the column. Moreover, the effects of type and concentrations of eluent were studied by the mini-column method. The results showed that 0.1 M HCl could quantitatively elute arsenic(V) from the column and the optimal flow rate was 0.47 mL/min. Three types of water samples i.e. Chulalongkorn University Pond water, Ground water and Industrial wastewater were tested for arsenic speciation. The experimental results showed that the strong base anion exchange resin offered an efficient separation of arsenic(III) and arsenic(V) for determination by ICP-OES.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการแยกอาร์เซนิก(III) และอาร์เซนิก(V) ในน้ำด้วยเรซินแลกเปลี่ยนไอออนลบและวิเคราะห์ หาปริมาณด้วยวิธี ICP-OESen_US
dc.title.alternativeSeparation of As(III) and As(V) in water samples using strong base anion exchange resin and determination by ICP-OESen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.editorApichat.I@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2557_33.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.