Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66546
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต | - |
dc.contributor.author | สรัญญา สุมาลี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2020-06-23T02:12:54Z | - |
dc.date.available | 2020-06-23T02:12:54Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741422717 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66546 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับกลวิธีการจัดการความเครียด ของนักเรียนชั้นมัยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4-6 จำนวน 400 คน แบ่งเป็นนักเรียนชายจำนวน 200 คน และนักเรียนหญิงจำนวน 200 คน จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทาและโรงเรียนสีกัน (วัฒนานันท์อุปถัมภ์) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบ วัดความเครียด แบบวัดกลวิธีการจัดการความเครียด แบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนเอง แบบวัดความเชื่ออำนาจการควบคุม แบบวัดพฤติกรรมแบบ A และแบบวัดการสนับสนุนทางสังคม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติการวิเคราะห์จำแนกกลุ่ม (Discriminant Analysis) ด้วยวิธีการคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการจำแนกกลุ่ม (Stepwise) ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับกลวิธีการจัดการความเครียดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 คือ การรับรู้ความสามารถของตนเองและความเชื่ออำนาจการควบคุม 2. การรับรู้ความสามารถของตนเองสูงสัมพันธ์กับกลวิธีการจัดการความเครียดแบบมุ่ง แก้ไขปัญหา 3. ความเชื่ออำนาจภายในสัมพันธ์กลวิธีการจัดการความเครียดแบบมุ่งแก้ไขปัญหาและ กลวิธีการจัดการความเครียดแบบผสม | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the factors related to coping strategies of mathayom suksa 4-6 students. Participants were 400 males and females Mathayom suksa 4-6 students, with 200 each, from Traim Udom Suksa, Secondary Demonstration School of Suansununta Rajabhat University and Seekan (Wattananunuppathum) schools. The data were collected by using Stress Scale, Ways of Coping Questionnaire, General Self-efficacy scale, Internal-External locus of control scale, Type A behavior scale and Social support scale. Descriptive statistics and Discriminant analysis with stepwise were used to analyzed the data. The results showed that: 1. Factors that were related to coping strategies of Mathayom suksa 4-6 students were self-efficacy and locus of control. 2. High self-efficacy was related to Problem-focused coping strategy. 3. Internal locus of control was related to Problem-focused coping strategy and Mixed problem and emotion focused coping strategy. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การบริหารความเครียด | en_US |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย | en_US |
dc.subject | Stress management | - |
dc.subject | High school students -- Thailand | - |
dc.title | ปัจจัยที่สัมพันธ์กับกลวิธีการจัดการความเครียดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 | en_US |
dc.title.alternative | Factors realated to coping strategies of mathayomsuksa 4-6 students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาพัฒนาการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | sompoch.l@chula.ac.th, isompoch@hotmail.com | - |
Appears in Collections: | Psy - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sarunya_su_front_p.pdf | 879.47 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sarunya_su_ch1_p.pdf | 1.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sarunya_su_ch2_p.pdf | 1.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sarunya_su_ch3_p.pdf | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sarunya_su_ch4_p.pdf | 793.77 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sarunya_su_ch5_p.pdf | 686.12 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sarunya_su_back_p.pdf | 2.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.