Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66588
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธรรมนูญ หนูจักร-
dc.contributor.authorอิสญาภรณ์ พุทธสา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-25T07:26:46Z-
dc.date.available2020-06-25T07:26:46Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66588-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการตรวจวัดปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระกรดฟีนอลิกในเห็ด ได้แก่ กรดเฟอรูลิก กรดโปรโตคาเทคชูอิก กรดคลอโรจีนิก กรดพาราไฮดรอกซีเบนโซอิก กรดคาเฟอิก กรดซิแนพพิก และ กรดพาราคูมาริก ด้วยเทคนิคอัลตราไฮเพอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโทกราฟี-แทนเดมแมสสเปกโทร เมตรี (UHPLC-MS/MS) โดยใช้เครื่องวิเคราะห์มวลชนิดทริเปิลควอดรูโพล และภาวะของ UHPLC คือ เฟสเคลื่อนที่แบบเกรเดียนท์ของกรดฟอร์มิกในน้ำ 0.1% โดยปริมาตรต่อปริมาตร และกรดฟอร์มิก ในเมทานอล 0.1% โดยปริมาตรต่อปริมาตร ที่อัตราการไหล 0.3 มิลลิลิตรต่อนาที และคอลัมน์ symmetry shield RP-18 ขนาด 2.1×150 mm, 3.5 μm จากการใช้การเลือกวิเคราะห์เฉพาะไอออน ต่างๆ กันด้วยวิธี multiple reaction monitoring พบว่า ขีดจำกัดของวิธีตรวจวัดอยู่ในช่วง 0.055-1.7 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และขีดจำกัดของวิธีตรวจวัดเชิงปริมาณอยู่ในช่วง 0.16-5.0 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ในการวิเคราะห์ตัวอย่างจริง พบว่าเห็ดชนิดเดียวกันแต่มาจากพื้นที่ปลูกที่แตกต่างกัน มีชนิดและ ปริมาณของกรดฟีนอลิกที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม กรดฟีนอลิกสามชนิดที่พบมากในเห็ด คือ กรดพาราคูมาริก กรดพาราไฮดรอกซีเบนโซอิก และกรดโปรโตคาเทคชูอิกen_US
dc.description.abstractalternativeIn this work, quantitative determination of seven antioxidant phenolic acids in mushrooms, including protocatechuic acid, chlorogenic acid, p-hydroxybenzoic acid, caffeic acid, sinapic acid, ferulic acid and p-coumaric acid was carried out by ultra high performance liquid chromatography-tandem mass spectrometry (UHPLC-MS/MS) using a triple quadrupole mass analyzer and the following UHPLC conditions: gradient elution mobile phase of 0.1% v/v formic acid in water : 0.1% v/v formic acid in methanol, flow rate of 0.3 mL/min and symmetry shield RP-18 column size 2.1×150 mm, 3.5 μm. Using a multiple reaction monitoring mode for quantitative analyses of different ions, results show the method detection limit and the method quantitation limit in ranges of 0.055-1.7 and 0.16-5.0 mg/kg, respectively. In real sample analysis, the same mushroom species from different cultivated area were found to contain some different types and amounts of phenolic acids. However, the three major phenolic acids in the mushrooms are p-coumaric, p-hydroxybenzoic, and protocatechuic acids.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกรดฟีนอลิกen_US
dc.subjectเห็ดen_US
dc.subjectแอนติออกซิแดนท์en_US
dc.subjectPhenolic acidsen_US
dc.subjectMushroomsen_US
dc.subjectAntioxidantsen_US
dc.titleการวิเคราะห์กรดฟีนอลิกในเห็ดด้วยเทคนิคอัลตราไฮเพอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิด โครมาโทกราฟี-แทนเดมแมสสเปกโทรเมตรีen_US
dc.title.alternativeDetermination of phenolic acids in mushrooms by ultra high performance liquid chromatography-tadem mass spectrometryen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorThumnoon.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Itsayaporn_Pu_Se_2558.pdf2.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.