Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67122
Title: | Particulate soil detergency for hydrophobic particle removal: effects of surfactant and fabric types |
Other Titles: | การกำจัดสิ่งสกปรกที่เป็นอนุภาคของแข็งที่ไม่ชอบน้ำ, ผลกระทบของชนิดของสารลดแรงตึงผิวและชนิดของผ้า |
Authors: | Wikanda Pengjun |
Advisors: | Sumaeth Chavadej Scamehorn, John F |
Other author: | Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
Issue Date: | 2008 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | In this research, the effects of surfactant concentration, surfactant type, type of fabric, and solution pH on the detergency performance in hydrophobic particulate removal were investigated. Carbon black was selected as a model hydrophobic particulate and three types of fabric were used: pure polyester, pure cotton, and blended polyester-cotton. The detergency experiments of carbon black removal were carried out by using sodium dodecyl sulfate, an anionic surfactant, and octyl phenol ethoxylate, a nonionic surfactant. To gain a better understanding of the mechanisms of particulate soil detergency, the adsorption isotherms of surfactants, zeta potential, contact angle, and surface tension were studied. For any given type of surfactant, %detergency increased with in-creasing solution pH and the maximum performance was found at pH 11. In addition, SDS was found to exhibit a better detergency than Triton X-100 since the zeta potential on the carbon black surface in SDS solutions is more negative than those in Triton X-100 solutions. Although the surfactant adsorption density of polyester is lower than cot-ton, carbon black can be removed from polyester better than from cotton. |
Other Abstract: | งานวิจัยนี้ศึกษาผลกระทบของชนิดและความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวค่าความเป็นกรดด่างของสารลดแรงตึงผิว ในการชำระล้างคราบสกปรกของอนุภาคของแข็งบนผ้าสามชนิด ได้แก่ ผ้าโพลีเอสเตอร์ ผ้าฝ้าย และผ้าโพลีเอสเตอร์ผสมผ้าฝ้าย คาร์บอนแบล้กถูกนำมาใช้เป็นตัวจำลองคราบสกปรกอนุภาคของแข็งแบบไม่ชอบน้ำ การทดลองกำจัดคาร์บอนแบล้กได้ใช้สารละลายลดแรงตึงผิวสองชนิด ได้แก่ สารละลายโซเดียมโดเดซิลซัลเฟต และสารละลายไทรทันเอ็กซ์ร้อย เพื่อที่จะเข้าใจหลักการของการกำจัดคราบสกปรกของอนุภาคของแข็งได้ดียิ่งขึ้น การดูดซับสารลดแรงตึงผิว, การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า และการวัดมุมสัมผัสของสารละลาย ได้วัดที่ค่าความเป็นกรดด่างต่าง ๆ สำหรับชนิดของผ้าและสารลดแรงตึงผิวหนึ่งๆพบว่า เปอร์เซ็นต์ของการกำจัดคราบสกปรกเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มค่าความเป็นด่าง และกำจัดได้สูงสุดที่ค่าความเป็นด่าง 11 นอกจากนี้พบว่าสารละลายโซเดียมโดเดซิลซัลเฟตสามารถกำจัดคราบสกปรกของอนุภาคนฃองแข็งได้ดีกว่าสารละลายไทรทันเอ็กซ์ร้อยเนื่องจากว่าสารละลายโซเดียมโดเดซิลซัลเฟตมีค่าศักย์ไฟฟ้าบนคาร์บอนแบล้กเป็นประจุลบมากกว่าสารละลายไทรทันเอ็กซ์ร้อย ถึงแม้ว่าความหนาแน่นของสารลดแรงตึงผิวที่ดูดซับลงบนผ้าโพลีเอสเตอร์มีค่าต่ำกว่าบนผ้าฝ้ายแต่คาร์บอนแบล้กสามารถถูกกำจัดออกจากผ้าโพลีเอสเตอร์ได้ดีกว่าผ้าฝ้าย |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2008 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Petrochemical Technology |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67122 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Petro - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wikanda_pe_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 813.19 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wikanda_pe_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 614.49 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wikanda_pe_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Wikanda_pe_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 674.15 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wikanda_pe_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Wikanda_pe_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 635.9 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wikanda_pe_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 2.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.