Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67174
Title: Identification of growth-related SNP markers in the giant tiger shrimp Penaeus monodon
Other Titles: การระบุเครื่องหมายสนิปที่เกี่ยวข้องกับการเติบโตในกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon
Authors: Sirithorn Janpoom
Advisors: Piamsak Menasveta
Bavornlak Khamnamtong
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Subjects: Penaeus monodon
กุ้งกุลาดำ
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Polymorphism of growth-related genes; calponinl (PmCnnl), cyclin C (PmCyC) and cdc25 (PmCdc25) in 3- (BUM03 and SNP3A) and 5-month-old (PM05) juveniles of the giant tiger shrimp (Penaeus monodon) were identified by polymerase chain reaction-single strand conformational polymorphism (PCR-SSCP) analysis. Relationships between SSCP patterns and growth parameters (average body weight, BW; total length, TL; hepatopancreatic weight, HPW and/or hepatosomatic indes, HSI) of the examined shrimp were examined. In the SNP3A sample, shrimp carrying SSCP patterns I and II of PmCnnl₅₃₀ (primers Cnnl-F/R) had a greater average BW and TL than those exhibiting pattern III (N=156, P<0.05). Likewise, juveniles shrimp carrying SSCP pattern II of PmCyC possessed a significantly greater average BW and HPW than those of shrimp carrying patterns I and III (N=145, P<0.05). For PmCdc25, the BW, TL and HPW pf shrimp carrying SSCP pattern I was significantly greater than those of shrimp carrying SSCP pattern II (N=144, P<0.05). Moreover, significant relationships between SSCP patterns of PmCnnl₄₂₅ and average BW and TL were found in the BUM03 sample (P<0.05). Nucleotide sequences of cloned PmCnnl₅₃₀, PmCyC and PmCdc25 gene segments of representative individuals carrying each SSCP genotype were determined. Six intronic SNPs of PmCnnl₅₃₀ were significantly related with growth parameters. Of these, shrimp with each of G/G₂₀₉T/T₂₁₀-/-₂₁₂-/-₂₁₃C/C₂₁₈G/G₂₄₀ (SSCP pattern I) and each of (G/A)₂₀₉(T/A)₂₁₀(-/G)₂₁₂(-/T)₂₁₃(C/T)₂₁₈(G/A)₂₄₀ (SSCP pattern II) had a greater average BW, TL and HPW than those with each of A/A₂₀₉A/A₂₁₀G/G₂₁₂T/T₂₁₃T/T₂₁₈A/T₂₄₀ (SSCP pattern III). For PmCyC, three exonic (A/G₃₁‚G/A₃₇₉‚ and T/C₃₈₂) and two intronic (T/C ₁₃₄ and T/C₁₈₈) SNPs corresponding to SSCP pattern I, II and III were observed, respectively. Each SNP of shrimp with SSCP pattern II: G/G₃₁C/T₁₃₄C/C₁₈₈A/A₃₇₉C/C₃₈₂ had a significantly greater average growth parameters (except HSI) than those with each SNP of shrimp found in SSCP pattern I: A/A₃₁C/C₁₃₄T/T₁₈₈G/G₃₇₉T₃₈₂ and III: A/G₃₁C/T₁₃₄T/C₁₈₈G/A₃₇₉T/C₃₈₂. Only one SNP (A/C₂₄₃) was found in PmCdc25 for which shrimp exhibiting A/C₂₄₃ had a significantly greater average BW, TL and HPW (P<0.05) than those carrying C/C₂₄₃. Simplification of SNP detection of PmCnnl₅₃₀ and PMCdc25 gene segments was successfully developed based on PCR-RFLP. The relative expression level of PmCnnl and PmCdc25 in hepatopancreas of juvenile shrimp (SNP3A) carrying different SSCP pattern were significantly different (P<0.05). The expression level of PmCnnl in shrimp exhibiting SSCP pattern III was significantly greater than those exhibiting pattern I and II (P<0.05) while the expression level of Pmcdc25 in shrimp exhibiting SSCP pattern I was significantly greater than those exhibiting genotypes II (P<0.05). The full-length cDNA of PmCyC was successfully characterized. It was 1443 bp in length containing and ORF of 804 bp corresponding to a polypeptide of 267 amino acids. Moreover, recombinant PmCnnl protein was successfully expressed as the soluble protein in E.coli. The polyclonal antibody against rPmCnnl was successfully produced in rabbit.
Other Abstract: ตรวจสอบภาวะพหุสัณฐานของจีนที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเติบโตของกุ้งกุลาดำประกอบด้วย calponinl (Pmcnnl) cyclin C (PmCyC) และ cdc25 (PmCdc25) ในกุ้งวัยรุ่นอายุสามเดือน (BUM03 และ SNP3A) และอายุ 5 เดือน (PM05) ด้วยวิธี PCR-SSCP พบความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบ SSCP ของจีน PmCnnl, PmCyC และ PmCdc25 กับปัจจัยการเติบโตของกุ้งกุลาดำ(น้ำหนักตัว, ความยาว, น้ำหนักตับและค่าดัชนีของตับ) ในกลุ่มตัวอย่าง SNP3A อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยกุ้งวัยรุ่นที่มีรูปแบบ SSCP แบบที่I และ II ของจีน PmCnnl₅₃₀ มีน้ำหนักตัวและความยาวเฉลี่ยมากกว่ากุ้งรูปแบบที่ III (N=156, P<0.05) สำหรับจีน PmCyC พบรูปแบบ SSCP จำนวนสามรูปแบบโดยกุ้งวัยรุ่นซึ่งมี SSCP รูปแบบที่ II พบว่ามีน้ำหนักตัวและน้ำหนักตับเฉลี่ยมากกว่ากุ้งที่มีรูปแบบ SSCP แบบที่ I และ III อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (N=145, P<0.05) นอกจากนั้นยังพบว่ากุ้ง SNP3A ที่มีรูปแบบ SSCP แบบที่ I ของจีน PmCdc25 มีน้ำหนักตัว ความยาวและน้ำหนักตับเฉลี่ยมากกว่ากุ้งที่มี SSCPรูปแบบที่ II (N=144, P<0.05) นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบ SSCP ของจีน PmCnnl₄₂₅ กับน้ำหนักตัวและความยาวเฉลี่ยของกุ้ง BUM03 เมื่อนำตัวแทนของแต่ละรูปแบบ SSCP ของทั้งสามจีนดังกล่าวในกุ้งวัยรุ่น SNP3A มาหาลำดับนิวคลีโอไทด์ผลการวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์พบสนิปจำนวน 6 ตำแหน่งที่บริเวณ intron ในจีน PmCnnl₅₃₀ มีความสัมพันธ์กับปัจจัยการเติบโตของกุ้งวัยรุ่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสนิปของจีนดังกล่าวกับลักษณะการเติบโตของกุ้งพบว่าสนิป G/G₂₀₉T/T₂₄₀-/-₂₁₂-/-₂₁₃C/C₂₁₈G/G₂₄₀ และสนิป G/A₂₀₉T/A₂₁₀-/G₂₁₂-/T₂₁₃C/T₂₁₈G/A₂₄₀ ซึ่งพบในกุ้งที่มี SSCP รูปแบบที่I และ II จะพบว่ามีน้ำหนักตัวความยาวและน้ำหนักตับเฉลี่ยมากกว่ากุ้งที่มีสนิปเป็น A/A₂₀₉A/A₂₁₀G/G₂₁₂T/T₂₁₃T/T₂₁₈A/A₂₄₀ ซึ่งพบในกุ้งที่มี SSCP รูปแบบที่ III สำหรับจีน PmCyc พบสนิปทั้งหมดจำนวนห้าตำแหน่งโดยสามตำแหน่ง(A/G₃₁‚G/A₃₇₉‚และT/C₃₈₂) เป็นสนิปที่เกิดบริเวณ exon แต่ไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงชนิดของกรดอะมิโนส่วนอีกสองตำแหน่ง (T/C₁₃₄และT/C₁₈₈) เป็นสนิปที่เกิดบริเวณ intron โดยกุ้งที่มีสนิปเป็น G/G₃₁C/T₁₃₄C/C₁₈₈A/A₃₇₉C/C₃₈₂ ซึ่งพบในกุ้งที่มีรูปแบบ SSCP แบบที่ II พบว่าเติบโตเร็วกว่ากุ้งที่มีสนิปเป็น A/A₃₁C/C₁₃₄T/T₁₈₈G/G₃₇₉T₃₈₂ และ A/G₃₁C/T₁₃₄T/C₁₈₈G/A₃₇₉T/C₃₈₂ ซึ่งพบในกุ้งที่มีรูปแบบ SSCP แบบที่ I และ III ตามลำดับสำหรับจีน PmCdc25 นั้นพบสนิปแค่เพียงหนึ่งตำแหน่ง (A/C₂₄₃) โดยกุ้งที่มีสนิปเป็น A/C₂₄₃ นั้นพบว่ามีน้ำหนักตัวความยาวและน้ำหนักตับเฉลี่ยมากกว่ากุ้งที่มีสนิปเป็น C/C₂₄₃ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(P<0.05) ทำการพัฒนาวิธีการตรวจสนิปอย่างง่ายโดยจากข้อมูลลำดับนิวคลีโอไทด์ของจีน PmCnnl₅₃₀ และPmCdc25 พบว่าสนิปของจีนดังกล่าวสามารถตรวจสอบได้ด้วยวิธี PCR-RFLP เมื่อตรวจสอบระดับการแสดงออกของจีน PmCnnl และ PmCdc25 mRNA ในตับของกุ้งวัยรุ่น SNP3A ด้วยวิธี quantitative real-time PCR พบว่าระดับการแสดงออกของจีน PmCnnl ของกุ้งที่มีรูปแบบ SSCP แบบที่ III มีระดับการแสดงออกของจีนสูงกว่ากุ้งที่มีรูปแบบ SSCP แบบที่ I และ II อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) สำหรับระดับการแสดงออกของจีน PmCdc25 นั้นพบว่ากุ้งที่มีรูปแบบ SSCP แบบที่ I นั้นมีระดับการแสดงออกของจีนสูงกว่ากุ้งที่มีรูปแบบ SSCP แบบที่ II อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) หาลำดับนิวคลีโอไทด์ที่สมบูรณ์ของจีน PmCyC พบว่ามีความยาว 1443 bp มี ORF ยาว 804 bp สามารถแปลรหัสเป็นโปรตีนที่มี 267 กรดอะมิโนนอกจากนี้สร้างโปรตีนลูกผสมของ PmCnnl และผลิตพอลิโคลนอลแอนติบอดีของ rPmCnnl ดังกล่าว
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Biotechnology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67174
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirithorn_ja_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ1.22 MBAdobe PDFView/Open
Sirithorn_ja_ch1_p.pdfบทที่ 11.51 MBAdobe PDFView/Open
Sirithorn_ja_ch2_p.pdfบทที่ 21.22 MBAdobe PDFView/Open
Sirithorn_ja_ch3_p.pdfบทที่ 33.41 MBAdobe PDFView/Open
Sirithorn_ja_ch4_p.pdfบทที่ 4849.54 kBAdobe PDFView/Open
Sirithorn_ja_ch5_p.pdfบทที่ 5672.75 kBAdobe PDFView/Open
Sirithorn_ja_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.