Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67519
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเดชา ฉัตรศิริเวช-
dc.contributor.authorเกรียงศักดิ์ กิตติพิมาน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-17T03:44:05Z-
dc.date.available2020-08-17T03:44:05Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743348786-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67519-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractถ่านกัมมันต์ถูกผลิตจากถ่านกะลามะพร้าวด้วยสารละลายซิงก์คลอไรด์เข้มข้น 50 % โดยน้ำหนักที่อุณหภูมิ 500 ℃ ผลกระทบของอัตราส่วนของซิงก์คลอไรด์ต่อถ่าน และอัตราการเพิ่มอุณหภูมิไปที่ 500 ℃ โดยการหาลักษณะสมบัติของตัวดูดซับ การเพิ่มอัตราส่วนเป็น 2.5:1พื้นที่ผิวจำเพาะเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนเป็น 870 m²/g ในขณะที่การดูดซับไอโอดีนเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยจาก 550 mg/g - 600 mg/g ลักษณะสมบัติทั้งสองเพิ่มขึ้นกว่า 900 m²/g และ 900mg/g ตามลำดับ โดยการลดอัตราการเพิ่มอุณหภูมิเป็น 50 ℃ ในเวลา 15 นาที สำหรับการศึกษาการดูดซับไอโซเทร์มของไนโตรเจนและออกซิเจน ถูกวัดที่อุณหภูมิ 50 ℃ โดยเส้นโค้งไหลผ่านทะลุ และวัดที่อุณหภูมิห้องโดยวิธีเชิงปริมาตร โดยที่ไอโซเทร์มของออกซิเจนและไนโตรเจนสำหรับตัวดูดซับชนิดเดียวกันจะมีลักษณะคล้ายคลึงกัน อย่างไรก็ตามปริมาณการดูดซับด้วยวิธีแรก จะมีค่ามากกว่าวิธีหลัง-
dc.description.abstractalternativeActivated carbons were produced from char of coconut shell with zinc chloride solution of 50 % w/w at 500 ℃. Effect of the ratio of zinc chloride to char, and rate of heating to 500 ℃ on adsorbent characteristics were investigated. Specific surface area could be increased significantly to 870 m²/g with an increase in the ratio to 2.5:1, while iodine adsorption was increased slightly from550 mg/g - 600 mg/g. Both characteristics could be improved to over 900 m²/g and900 mg/g, respectively, by reducing the heating rate to 50 degree celcious in 15minute. For adsorption investigation, isotherms of nitrogen and oxygen at 50 ℃ were measured from breakthrough curves and at room temperature were measured with volumetric method. All isotherms of nitrogen and oxygen on the same adsorbents were similar. However the amount adsorbed from the former method were higher than that from the latter.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectกะลามะพร้าว-
dc.subjectการดูดซับ-
dc.subjectคาร์บอนกัมมันต์-
dc.subjectออกซิเจน-
dc.subjectไนโตรเจน-
dc.titleการดูดซับออกซิเจนและไนโตรเจนด้วยถ่านกัมมันต์ที่เตรียมจากกะลามะพร้าวโดยการกระตุ้นด้วยซิงก์คลอไรด์-
dc.title.alternativeAdsorption of oxygen and nitrogen with activated carbons from coconut shell activated by zinc chloride-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมี-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kriangsak_ki_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ977.74 kBAdobe PDFView/Open
Kriangsak_ki_ch1_p.pdfบทที่ 1682.14 kBAdobe PDFView/Open
Kriangsak_ki_ch2_p.pdfบทที่ 2905.63 kBAdobe PDFView/Open
Kriangsak_ki_ch3_p.pdfบทที่ 3834.19 kBAdobe PDFView/Open
Kriangsak_ki_ch4_p.pdfบทที่ 42.31 MBAdobe PDFView/Open
Kriangsak_ki_ch5_p.pdfบทที่ 5637.22 kBAdobe PDFView/Open
Kriangsak_ki_back_p.pdfบรรณานุกรมและบทคัดย่อ1.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.