Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67562
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา แก้วเทพ-
dc.contributor.authorรุจิรา สุภาษา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-08-18T03:29:24Z-
dc.date.available2020-08-18T03:29:24Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743328955-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67562-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้ มุ่งศึกษาประเภทสื่อที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าร่วมในการสร้างสื่อได้ ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการผลิตสื่อ รวมถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการเลือกสื่อ และการมีส่วนร่วมในระดับต่าง ๆ โดยเลือกกรณีศึกษาเป็นองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) จำนวน 9 องค์กร โดยใช้วิธีวิจัยแบบการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการเข้าไปสังเกตแบบมีส่วนร่วม ประกอบกับข้อมูลจากเอกสารและสื่อขององค์กรพัฒนาเอกชน ผลการวิจัยปรากฏว่าองค์กรพัฒนาเอกชนได้เลือกใช้สื่อทั้ง 4 ประเภท คือ สื่อบุคคล สื่อเฉพาะกิจ สื่อมวลชนและสื่อประเพณี แต่จะมีการใช้สื่อบุคคลและสื่อเฉพาะกิจมากที่สุด รองลงมาได้แก่ สื่อมวลชน และสื่อประเพณี ซึ่งปัจจัยในการเลือกใช้สื่อก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านองค์กร, ด้านสาร , ด้านสื่อ และด้านผู้รับสาร การเข้าร่วมของประชาชนในกระบวนการสร้างสื่อประกอบด้วย 3 ระดับการเข้าร่วมคือ ระดับผู้รับสาร ระดับผู้ผลิต และระดับผู้วางแผน ซึ่งจากผลการวิจัยพบว่ามีการเข้าร่วมระดับผู้รับสารมากที่สุด ในรูปแบบของการแสดงความคิดเห็นมากที่สุด ส่วนการเข้าร่วมระดับผู้ผลิต กลุ่มเปาหมายเข้าร่วมในขั้นตอนก่อนการผลิตมากที่สุดในบทบาทของการเป็นผู้ให้ข้อมูลและการช่วยกำหนดประเด็นการนำเสนอ ในส่วนของขั้นตอนการผลิต ประชาชนได้เข้าร่วมเป็นนักแสดงหรือเป็นผู้ใช้สื่อและในส่วนของขั้นตอนหลังการผลิต ประชาชนมีส่วนร่วมเฉพาะการประเมินผลและการช่วยนำสื่อไปเผยแพร่เท่านั้น และการมีส่วนร่วมระดับสูงสุดคือระดับผู้วางแผน มีปรากฏเพียง 2 องค์กรเท่านั้น จากจำนวนทั้งหมด 9 องค์กร ผลการวิจัยนี้นำไปสู่ข้อสรุปที่ว่า ยิ่งระดับการมีส่วนร่วมสูงขั้น โอกาสในการเข้าร่วมของประชาชนก็จะยิ่งน้อยลง-
dc.description.abstractalternativeThis research is aimed to study the type of media that allow people’s participation, level of media selection in producing media and factors involved in media selection and various participatorial level especially that of the 9 NGOs case studies. Research methodologies composed of depth interview 1 participated observation and all of NGOs documents. It was found out that the NGOs has selected 4 media consecutively: 1) Personnel media 2) Special media 3) Mass media and 4) Folk media. However, media selection depends on organization 1 message 1 media and receiver factors. Participation in media production is composed of 3 levels: 1) Audience level 2) Producer level and 3) Planner level. The result has shown that, the people has participated in all levels especially in audience level which the people has shared in opinion expression most. For the producer level 1 the people has joined in pre-production stage most as the information provider and theme developer. At the production stage 1 the people has joined as presenter and user. For the post production stage 1 the people has participated in evaluating and distributing. Lastly, planner participation level has only 2 organizations. In conclusion, the higher level, the less participated media production from the public.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการสื่อสารกับการพัฒนา-
dc.subjectองค์กรพัฒนาเอกชน-
dc.subjectสื่อมวลชน-
dc.subjectการมีส่วนร่วมของประชาชน-
dc.subjectสื่อมวลชนกับสิ่งแวดล้อม-
dc.titleการสร้างสื่อแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อมขององค์กรพัฒนาเอกชน-
dc.title.alternativeParticipatory media production for environmental knowledge development of non-governmental organizations-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชน-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rujira_su_front_p.pdf934.66 kBAdobe PDFView/Open
Rujira_su_ch1_p.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Rujira_su_ch2_p.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open
Rujira_su_ch3_p.pdf791.19 kBAdobe PDFView/Open
Rujira_su_ch4_p.pdf2.17 MBAdobe PDFView/Open
Rujira_su_ch5_p.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open
Rujira_su_ch6_p.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open
Rujira_su_ch7_p.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
Rujira_su_back_p.pdf5.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.