Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6785
Title: The Survival of the Joe Louis Theater : theater management
Other Titles: การอยู่รอดของโจหลุยส์เธียร์เตอร์ : การจัดการคณะละคร
Authors: Yamashita, Mitsuko
Advisors: Pornrat Damrhung
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Arts
Advisor's Email: No information provided
Subjects: Joe Louis Theater
Puppet plays -- Thailand
Theater management -- Thailand
Issue Date: 2005
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: To examine the types of theater management that have contributed to the survival of the Joe Louis Theater in the last decade and other factors that have enabled the theater to thrive in difficult time. Hun lakhon lek, a Thai variant of doll-puppetry, emerged about a century ago. Joe Louis Theater stages regular performances of hun lakhon lek in an urban area and through domestic and international recognition it has established a strong foothold. The puppet theater in the past and to a certain extent in the present gave performances at occasions such as funerals. Unlike these ritual ties between the theater and the audience, the Joe Louis Theater has established a commercial relation with people. The research undertaken reveals that the Joe Louis Theater uses modern theater management methods. A small family troupe has come to operate like a company. A formal hierarchical structure is found in this organization. This organization consists of a board oftrustees, and arts manager and staff that emphasizes the commercial aspect. A strategy, molded by this organization, is practiced in the four P's: place, promotions, price and productions. It has urban, popular and commercial characteristics. Located them in Suan Lum Night Bazaar, which is a shopping and entertainment complex, Joe Louis Theater survives as a part of it. While modern management methods are used in the Joe Louis Theater, there still exists traditional way of management, based on family members. Particularly, among puppeteers, the master-apprentice relationship plays a significant role. The findings of this research suggest that the management methods used by the Joe Louis Theater are a mixture of modern and traditional methods. However, this mixture is changing. Modern theater management methods used by the Joe Louis Theater have created new cultural and commercial relations with people, and thereby ensured its survival in a rapidly changing world. Its presentation style and well-trained puppeteers have also enabled it to survive and thrive in difficult times, thus enabling the art form of hun lakhon lek, their artistic creations and their love for the art to survive.
Other Abstract: ศึกษากลวิธีในกาจัดการคณะละคร ซึ่งมุ่งประเด็นไปที่ ความอยู่รอดของคณะละครหุ่นโจหลุยส์ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา รวมทั้งศึกษาปัจจัยอื่นๆ ที่ทำให้โรงละครแห่งนี้ยังดำรงอยู่ได้ แม้ในเวลาที่ยากลำบาก หุ่นละครเล็ก เป็นการแสดงหุ่นประเภทหนึ่งในหลายประเภทของไทย หุ่นประเภทนี้เกิดขึ้นเมื่อราว 100 ปี ที่ผ่านมา คณะละครโจหลุยส์ จัดเสนอการแสดงหุ่นละครเล็กสม่ำเสมอ ณ โรงละครในเขตชุมชนเมือง มีชื่อเสียงแพร่หลายเป็นที่รู้จักและยอมรับทั้งในและต่างประเทศ ตามขนบแล้วละครหุ่นของไทยนั้นจะมีแสดงกันตามวาระโอกาสต่างๆ เช่น งานศพ เป็นต้น แต่คณะละครหุ่นโจหลุยส์ ทำสิ่งที่แตกต่างจากวาระการแสดงแบบดั้งเดิม นั่นคือเปิดการแสดง ในลักษณะที่เป็นแบบ "ธุรกิจการค้า" งานวิจัยชิ้นนี้ ได้พบว่า โรงละครโจหลุยส์ ใช้กลวีการจัดการคณะละครแบบสมัยใหม่ ที่เปลี่ยนแปลงคณะละครเล็กๆ แบบครอบครัวให้มีการจัดการบริหารในแบบบริษัท มีการจัดระบบโครงสร้างองค์กรอย่างมีลำดับขั้นตอน อันประกอบด้วย คณะกรรมการบริหาร ผู้จัดการศิลปะ และคณะทำงานที่เน้นด้านธุรกิจ โดยใช้กลยุทธ์ทางการตลาดที่เรียกว่า 4P ได้แก่ Place (ทำเทที่ตั้ง) Promotions (การส่งเสริมการขาย) Price (ราคา) และ Productions (สินค้า) ซึ่งล้วนเน้นลักษณะสำคัญคือ มีทำเลตั้งอยู่ในเขตเมือง ได้แก่สวนลุมไนท์ บาซาร์ อันเป็นศูนย์รวมของการค้าขายและความบันเทิง โดยที่คณะละครนั้นสามารถอยู่รอดได้เพราะเป็นส่วนหนึ่งในศูนย์รวมการค้าขายและความบันเทิงแห่งนี้ ถึงแม้ว่าโรงละครโจหลุยส์จะใช้กลวิธีในการจัดการคณะละครแบบสมัยใหม่ แต่การจัดระบบ แบบแผน ทางศิลปะก็ยังคงระบบครอบครัวแบบเดิมไว้ การนับถืออาวุโส โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่คนเชิดหุ่นด้วยกัน ความสัมพันธ์แบบครูกับศิษย์ ยังมีความสำคัญมาก ผลที่ได้จาการศึกษาในครั้งนี้แสดงว่า กลวิธีในการจัดการคณะละครของโจหลุยส์เธียร์เตอร์นั้น มีลักษณะผสมผสานระหว่าง ระบบการจัดการแบบโบราณ กับการจัดการในแบบสมัยใหม่ และยังคงมีการปรับเปลี่ยนเพื่อหารูปแบบที่เหมาะสมอยู่ตลอดเวลา การจัดการแลลสมัยใหม่นี้ช่วยให้คณะละครสามารถสร้างการติดต่อและความสัมพันธ์ในแบบธุรกิจได้ อันจะช่วยเป็นประกันว่าโรงละครแห่งนี้จะอยู่รอดได้ ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกปัจจุบัน อย่างไรก็ตามรูปแบบการแสดงที่มีเอกลักษณ์และศิลปินเชิดหุ่นที่มีฝีมือ เป็นส่วนสำคัญยิ่งที่ทำให้โรงละครแห่งนี้ขับเคลื่อนต่อไปได้ เพื่อรักษารูปแบบการแสดง หุ่นละครเล็ก ให้ดำรงอยู่
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2005
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Thai Studies
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6785
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1819
ISBN: 9741438842
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2005.1819
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
mitsuko.pdf1.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.