Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6787
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบงกช สุทธิวาณิชกุล-
dc.contributor.authorวิบูลลักษณ์ วิสุทธิศักดิ์-
dc.contributor.authorจิราภรณ์ ธนียวัน-
dc.contributor.otherไม่มีข้อมูล-
dc.contributor.otherไม่มีข้อมูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-05-02T06:28:14Z-
dc.date.available2008-05-02T06:28:14Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6787-
dc.descriptionเสนอต่อฝ่ายวิจัย คณะวิทยาศาสตร์en
dc.descriptionที่ปรึกษาโครงการ : สุเทพ ธนียวัน ; อมร เพชรสม ; เพียรพรรค ทัศคร ; ไพเราะ ปิ่้นพานิชการ-
dc.description.abstractการทดลองผลิตสารไบโอเซอร์แฟกแตนท์โดยใช้เชื้อ Bacillus licheniformis F2.2 ซึ่งแยกได้มาจากอาหารหมักดอง สารที่ผลิตได้จึงเชื่อว่ามีความปลอดภัยต่อการใช้งาน ไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม จากการทำวิจัยพบว่าสามารถผลิตสารไบโอเซอร์แฟกแตนท์ (BS) ที่ให้คุณสมบัติในการลดค่า Surface tension activity ได้ต่ำสุดถึง 27-29 mM/m ในอาหารเลี้ยงเชื้อ Defined medium ที่ประกอบด้วย glucose 2% เป็นแหล่งคาร์บอน และ NH[subscript 4]NO[subscript 3] 0.4% เป็นแหล่งไนโตรเจน เมื่อทดสอบเปรียบเทียบแหล่งคาร์บอนและไนโตรเจนอื่นๆ โดยการควบคุม pH8 ที่เวลา 12-24 ชั่วโมง ซึ่งจะให้ผลดีทั้งที่อุณหภูมิ 25 C และ 30 C และมีค่า Emulsification index (E[subscript 24]) สูงสุดคือ 71 จากการศึกษาวัดค่า Oil displacement test ของ BS ที่ผลิตได้ในอาหารเลี้ยงเชื้อที่ควบคุมภาวะให้เหมาะสม พบว่าพื้นที่วงใสจากการทดสอบจะมีค่ากว้างสูงสุดและคงที่ตลอดไปตั้งแต่ เวลา 24-72 ชั่วโมง ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าสาร BSที่ผลิตได้จะมีปริมาณความเข้มข้นสูงสุดที่ 24 ชั่วโมงเป็นต้นไป นอกจากนี้การทดลองครั้งนี้ยังสามารถเตรียมสาร BS กึ่งบริสุทธิ์ได้โดยการแยกสารด้วยซิลิกาเจลคอลัมน์โครมาโตกราฟี แล้วทดสอบความบริสุทธิ์ของสารที่แยกได้ด้วย HPLC และพบว่าสารที่แยกได้นี้เป็นสารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดเล็กกว่า 5,000 ดาลตันen
dc.description.sponsorshipทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปีงบประมาณ 2539en
dc.format.extent3556996 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสารลดแรงตึงผิวชีวภาพen
dc.subjectจุลินทรีย์--การเพาะเลี้ยงและอาหารเพาะเชื้อen
dc.subjectบาซิลลัสen
dc.titleการผลิตสาร Biosurfactant โดย Bacillus licheniformis สายพันธุ์ F2.2 : รายงานวิจัยen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorjiraporn.Th@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bungkoch(bio).pdf3.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.