Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68061
Title: Development of a zeolite encapsulated catalyst for oxidation of alkenes
Other Titles: การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาที่ถูกกักไว้ภายในซีโอไลต์สำหรับออกซิเดชันของแอลคีน
Authors: Charun Yafa
Advisors: Aticha Chaisuwan
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Subjects: Zeolites
Catalysts
Alkenes
ซีโอไลต์
ตัวเร่งปฏิกิริยา
แอลคีน
Issue Date: 1998
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Zeolite Y was synthesized from a mixture of sodium aluminate, sodium hydroxide, sodium silicate, aluminium sulfate and water. A slurry of nucleation centers or seeds containing 13.5Na20: 1.0Al2O3: 12.5Si02: 516H20 was aged for 5 days and then added to gel. The gel component obtained was 1.9Na20: 1.0Al2O3; 6.0SiO2: 100H2O. The mixture was vigorously stirred and crystallized at 100 ℃ for 10 to 15 hours. The zeolite obtained was highly crystalline NaY with a Si/Al ratio of 2.3. The zeolite MnY was obtained by ion exchange of zeolite NaY with aqeous solution of Mn (II) ion. Manganese phthalocyanine is synthesized in the cavities of zeolite MnY using “ship in the bottle” method. The zeolite entrapped manganese complex is formed by the reaction between dicyanobenzene and manganese (II) ion which is the counter ion of zeolite framework. The zeolite entrapped manganese phthalocyanine was characterized using Fourier transformed infrared, atomic absorption and ultraviolet spectrometers. The stability of zeolite Y is confirmed by X-ray diffraction. The zeolite entrapped complex is found to be a catalyst for oxidation of cyclohexene but not 1-hexene. The conditions for catalysis are studied in details for effects of oxidant, solvent, catalyst amount and time. Improvement of yield can be accomplished by carrying out the catalysis in the absence of solvent, and increasing the amount of oxidant and catalyst. Oxygen is much better oxidant than iodosobenzene.
Other Abstract: ได้ทำการสังเคราะห์ซีโอไลต์วายจากส่วนผสมของ โซเดียมซิลิเกต โซเดียมอะลูมิเนต โซเดียม ไฮดรอกไซด์ อะลูมิเนียมซัลเฟต และน้ำ บ่มสารแขวนลอยนิวคลีเอชันเซ็นเตอร์ หรือสารก่อผลึกที่มีองค์ ประกอบเป็น 13.5Na20 : 1.0AI2O3 : 12.5Si02 : 516H20 นาน 5 วันและเติมลงในเจลผสม องค์ประกอบรวมของเจลเป็น 1.9Na20 : 1.0AI2O3 : 6.0SiO2 : 100H2O คนสารผสมอย่างแรงและตกผลึกที่ 100 °ซ เป็นเวลา 10 ถึง 15 ชั่วโมง ซีโอไลต์ที่ได้คือ ซีโอไลต์โซเดียมวายที่มีความเป็นผลึกสูง มีซิลิกอน/อะลูมิเนียม = 2.3 เตรียมซีโอไลต์แมงกานีสวาย โดยการแลกเปลี่ยนไอออนของซีโอไลต์โซเดียมวายด้วยสารละลายของ แมงกานีส (II) ไอออน แมงกานีสพทาโลไซยานีนถูกสังเคราะห์ในโพรงซีโอไลต์แมงกานีสวายโดยใช้วิธี “เรือ ในขวด” สารประกอบเชิงซ้อนแมงกานีสที่ถูกกักในซีโอไลต์เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างไดไซยาโนเบนซีน และ แมงกานีส (II) ไอออน ซึ่งเป็นเคาน์เตอร์ไอออนของชีโอไลต์เฟรมเวอร์ค แมงกานีสพทาโลไซยานีนที่ถูกกักใน ซีโอไลต์ถูกตรวจสอบด้วยเครื่องฟูเรียทรานสฟอร์มอินฟราเรด อะตอมมิกแอบซอร์ปซัน และอัลตร้าไวโอเลต สเปกโทรมิเตอร์ ความเสถียรของซีโอไลต์วายได้รับการยืนยันด้วยเอกซ์เรย์ดิฟแฟรกชัน พบว่าสารประกอบ เชิงซ้อนที่ถูกกักไว้ในโพรงซีโอไลต์ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับออกซิเดซันไซโคลเฮกซีน แต่ไม่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับ 1-เฮกซีน ได้ศึกษาสภาวะสำหรับการเร่งปฏิกิริยาอย่างละเอียดในแง่ของผลของตัวออกซิไดซ์ ตัวทำละลาย ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา และเวลา การปรับปรุงปริมาณสารผลิตภัณฑ์สามารถทำได้โดย ทำการเร่งปฏิกิริยาแบบไม่ใช้ตัวทำละลาย และเพิ่มปริมาณตัวออกซิไดซ์และตัวเร่งปฏิกิริยา ออกซิเจนเป็น ตัวออกซิไดซ์ที่ดีกว่าไอโอโดโซเบนซีน
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1998
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemistry
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68061
ISBN: 9743314571
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Charun_ya_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ1.07 MBAdobe PDFView/Open
Charun_ya_ch1_p.pdfบทที่ 11.12 MBAdobe PDFView/Open
Charun_ya_ch2_p.pdfบทที่ 21.27 MBAdobe PDFView/Open
Charun_ya_ch3_p.pdfบทที่ 31.57 MBAdobe PDFView/Open
Charun_ya_ch4_p.pdfบทที่ 42.05 MBAdobe PDFView/Open
Charun_ya_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก853.12 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.