Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68229
Title: วิธีการและเทคนิคในการออกแบบระบบควบคุมหลายตัวแปรแบบคาสเคด
Other Titles: Multivariable cascade control design procedure and technique
Authors: ชูเกียรติ ซำคง
Advisors: มนตรี วงศ์ศรี
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Subjects: การควบคุมแบบคาสเคดหลายตัวแปร
การควบคุมอัตโนมัติ
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การควบคุมแบบคาสเคดหลายตัวแปร (เอ็มซีซี) เป็นวิธีการควบคุมที่พลิกแพลง ในการจัดการกับตัวแปรควบคุมที่มีเงื่อนไข ลูพในของคาสเคดเป็นตัวควบคุมแบบไอเอ็มซีหลายตัวแปรซึ่งปรับปรุงไปเป็นโมเดล สเตทฟีดแบ็ก เพื่อป้องกันการอิ่มตัวของตัวแปรปรับ ลูพนอกจะปรับเซ็ทพอยท์ของตัวแปรมีเงื่อนไข ได้มีการดัดแปลงตัวควบคุม (เอ็มซีซี) เดิม โดยการใช้ตัวทำนายของสมิทเพื่อปรับปรุงสมรรถนะของตัวควบคุม (เล็มซีซี) แบบดั้งเดิม กระบวนการที่นำมาสาธิตกับตัวควบคุมได้แก่ 1.) ระบบหนึ่งอินพุทหลายเอาท์พุทแบบ (2x1) 2.) ระบบหลายอินพุทหลายเอาท์พุทแบบ (2x2) สมรรถนะของตัวควบคุม (เอ็มซีซี) เดิมและตัวควบคุม (เอ็มซีซี)ที่ดัดแปลงนั้นเหมือนกัน แต่ตัวควบคุมอย่างหลังนั้นจะมีสมรรถนะที่ดีกว่าเล็กน้อย ในแง่ของ ไอเออี และโอเวอร์ซูตในงานวิจัยนี้ ยังได้ศึกษาการใช้ (เอ็มซีซี) กับระบบระบบหลายอินพุทหลายเอาท์พุทแบบ (3x3) อีกด้วยและแสดงให้เห็นได้ว่าสมรรถนะของระบบควบคุม(เอ็มซีซี) ดีกว่าระบบควบคุมแบบ พีไอดี
Other Abstract: Multivarible cascade control (MCC) is a control strategy to treat output constrains. The inner loop of the cascade is multivariable IMC controller imprement in a model state feedback form to accommodate control action saturation. The Outer loop adjusts the setpoint of the constrained variable. The MCC is modified using a Smith Predictor to improve the performance of the original MCC. The process to demonstrate the MCC and the modified MCC are 1.) M ISO (2x1), 2.) MIMO (2x2) system. The performance of the MCC and the modified MCC are similar, but the Ratter has a slightly better performance in term of IAE and overshoot. In this thesis the MCC system is exterded to test a MIMO (3x3) system. It shows that the performance of the MCC system is better the PID system.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมเคมี
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68229
ISBN: 9743323732
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chukeit_ch_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ992.33 kBAdobe PDFView/Open
Chukeit_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1692.98 kBAdobe PDFView/Open
Chukeit_ch_ch2_p.pdfบทที่ 2676.57 kBAdobe PDFView/Open
Chukeit_ch_ch3_p.pdfบทที่ 31.44 MBAdobe PDFView/Open
Chukeit_ch_ch4_p.pdfบทที่ 41.26 MBAdobe PDFView/Open
Chukeit_ch_ch5_p.pdfบทที่ 51.85 MBAdobe PDFView/Open
Chukeit_ch_ch6_p.pdfบทที่ 6673.01 kBAdobe PDFView/Open
Chukeit_ch_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.