Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6843
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSirivan Chulakorn-
dc.contributor.authorNaowarat Assavatesamongkol-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Arts-
dc.date.accessioned2008-05-08T09:07:40Z-
dc.date.available2008-05-08T09:07:40Z-
dc.date.issued1999-
dc.identifier.isbn9743342745-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6843-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 1999en
dc.description.abstractL'objet de ce memoire est d'analyser le role du narrateur et du temps dans les Chroniques romanesques de Jean Giono. Celles-ci donnent une forme nouvelle au recit, surtout en ce qui concerne les systemes narratifs et temporels. Notre recherche est fondee sur les theories de Gerard Genette dans Figures III et sur certaines notions de Jean Ricardou dans Problemes du nouveau roman. Nous empruntons aussi quelques termes de la narratologic de Tzventan Todorov dans Les categories du recit litteraire et de J.I. Dumortier et F. Plazonet dans Pour lire le recit. Nous avons choisi comme corpus Un roi sans divertissement et Les Ames Fortes, les deux chefs d'oeuvres de la forme des Chroniques. Notre analyse renvoie d'un cote au narrateur : la voix ou la personne qui parle et le mode ou bien la focalisation. Et de l'autre, au temps : l'ordre temporel entre le temps de la narration et le temps de la diegese, la duree ou la vitesse entre le temps de la narration itle temps de la fiction, enfin, la frequence ou la relation de repetition entre le recit et l'histoire. Au premier regard, nous voyons des aspects pluriels a travers le narrateur et letemps : la pluralite des narrateurs, la variation des points de vue, les emboitements narratifs, le va-et-vient entre les deux cours temporels, la description tantot dualiste, tantot incompatible, la conversation enigmatique et inconciliable et la repetition completement differente. Si nous considerons plus profondement, nous decouvrons que les deux elements romanesques provoquent parfaitement aussi les aspects pluriels de l'univers des Chroniques. Il nous semble qu'elles sont le melange de plusieurs genres litteraires comme le roman policier et des actes de l'opera. Pendant la lecture, nous abordons frequemment le systeme discursif. Il y a toujours l'intervention entre le narrateur et le narrataire, la combinaison du discours et du recit et plusieurs niveaux de langue. En plus, nous pouvons sentir l'incertitude du recit. Tous les evenements sont confus et restent mysterieux. Il y a plusieurs interpretations possibles, celle de penser que nous sommes entre la realite et la reverie dans le monde des Chroniques romanesques.en
dc.description.abstractalternativeจุดมุ่งหมายของวิทยานิพนธ์เล่มนี้ คือ การวิเคราะห์บทบาทของผู้เล่าและเวลาในนวนิยายบันทึกเหตุการณ์ ของฌ็อง ฌิโอโน งานประเภทดังกล่าวได้สร้างสีสันความแปลกใหม่ให้กับเรื่องเล่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งความแปลกใหม่ในกระบวนการสร้างสรรผู้เล่าและเวลา การศึกษาค้นคว้าได้ยึดหลักทฤษฎีของ เชราด์ เชอแนตท์ จากหนังสือ ฟิกูร์ ทรัวส์ (Figures III) นอกจากนี้ยังได้อาศัยบททฤษฎีเกี่ยวกับการเล่าเรื่องของ ฌ็อง ริการ์ดู จากหนังสือ พรอแบลม ดู นูโว โรมอง (Problemes du nouveau roman) ทฤษฎีของ ซเวทาน โตโดร็อฟ จากหนังสือ เล กาเตกอรี ดู เรซี ลิทเตแรร์ (Les categories du recit litteraire) และของ ดูมอร์ติเย กับ ปลาโซเนต์ จากหนังสือ ปูร์ ลี เลอ เรซี (Pour lire le recit) ในการศึกษาวิเคราะห์ได้ใช้นวนิยายสองเล่มที่โดดเด่นในงานนวนิยายบันทึกเหตุการณ์ คือ "เอิง รัว ซ็อง ดิแวร์ติสม็อง" และ "เลซาม ฟ็อร์ต" หัวข้อที่ทำการศึกษาได้แบ่งออกเป็นสองหัวข้อใหญ่ คือ ผู้เล่าและเวลา ซึ่งในส่วนของผู้เล่าสามารถวิเคราะห์ถึงเสียงผู้เล่าเรื่อง กับมุมมองที่ใช้เล่าเหตุการณ์ ในส่วนของเวลาสามารถศึกษาลำดับเวลาของการเล่าเรื่องกับลำดับเวลาของเหตุการณ์ นอกจากนี้ยังสามารถศึกษาความเร็วในการเล่าระหว่างสองลักษณะเวลา และความถี่ในการเล่าเรื่อง ผลจากการวิเคราะห์ในขั้นแรกได้เห็นถึงความหลากหลายของลักษณะตัวผู้เล่าและเวลา คือในงานประเภทดังกล่าวเราจะพบผู้เล่าหลายคน ใช้มุมมองในการเล่าเรื่องที่หลากหลาย มีการซ้อนกันของเรื่องเล่า นอกจากนี้ยังมีการสลับกันไปมาตลอดเวลาระหว่างเวลาของการเล่าเรื่องและเวลาของเหตุการณ์ ลักษณะของบทพรรณนาที่มีสองด้านและต่างกันโดยสิ้นเชิง บทสนทนาที่ลึกลับซับซ้อนบางทีก็แตกต่างกัน และการเล่าซ้ำในแบบที่ต่างกันออกไป นอกจากนี้เรายังสามารถพิจารณาได้ต่อไปอีกว่า ผู้เล่าและเวลายังได้สร้างความหลากหลายให้กับงานได้อีกด้วย โดยส่งผลให้งานมีลักษณะคล้ายบทละครและนวนิยายสืบสวนสอบสวน และระหว่างการอ่านเราจะรู้สึกได้ตลอดเวลาถึงการสื่อสารกันระหว่างผู้เล่าและผู้รับฟัง การผสมผสานของภาคสนทนาและภาคแสดงเรื่อง และระดับภาษาที่ผู้เล่าแต่ละคนใช้สื่อสาร นอกจากนี้เรายังสามารถสัมผัสได้ถึงความคลุมเครือของเรื่องเล่า ทุกเหตุการณ์ดูสับสนและคงไว้ซึ่งปริศนา สามารถตีความได้หลากหลาย ทำให้ผู้อ่านรู้สึกราวกับว่าได้อยู่ระหว่างโลกแห่งความจริงและโลกแห่งจินตนาการen
dc.format.extent7200930 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isofres
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectGiono, Jean, 1890-1970 -- Styleen
dc.subjectContent analysis (Communication)en
dc.subjectFrench fiction -- History and criticism-
dc.titleLe role du narrateur et du temps dans deux Chroniques romanesques de Jean Giono : Un roi sans divertissement et Les Ames Fortesen
dc.title.alternativeบทบาทของผู้เล่าและเวลาในนวนิยายบันทึกเหตุการณ์ เรื่อง เอิง รัว ซ็อง ดิแวร์ติสม็อง และ เลซาม ฟ็อร์ต ของ ฌ็อง ฌิโอโนen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Artses
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineFrenches
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorNo information provided-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Naowarat.pdf7.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.