Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68776
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา อุทัยรัตน์-
dc.contributor.authorปิยนุช ศรีบูรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-27T08:47:10Z-
dc.date.available2020-10-27T08:47:10Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743313389-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68776-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษาผลของการแก้ไขข้อบกพร่องในการแก้โจทย์ปัญหาเรื่องร้อยละ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการสอนซ่อมเสริมโดยใช้เอกสารฝึกหัด ซึ่งศึกษาในด้านจำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การแก้ไขข้อบกพร่องในการแก้โจทย์ปัญหาในแต่ละขั้นตอน จำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การแก้ไขข้อบกพร่องในการแก้โจทย์ปัญหาในภาพรวม และคะแนนเฉลี่ย ของนักเรียนหลังการสอนซ่อมเสริม ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนประชาพัฒนศึกษา จ. ศรีสะเกษ ปีการศึกษา 2541 ที่มีข้อบกพร่องในการแก้โจทย์ปัญหาเรื่องร้อยละ จำนวน 40 คน ที่ได้จากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยคือ แบบสอบอัตนัยเพื่อวัดผลการแก้ไขข้อบกพร่องในการแก้โจทย์ปัญหาเรื่องร้อยละ มีค่าความเที่ยง 0.84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ และการหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. จำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การแก้ไขข้อบกพร่องในชั้นทำความเข้าใจโจทย์ชั้นต้น คิดเป็นร้อยละ 100 จำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การแก้ไขข้อบกพร่องในชั้นตีความคิดเป็นร้อยละ 100 จำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การแก้ไขข้อบกพร่องในชั้นเขียนอัตราส่วนและสัดส่วนแสดงความสัมพันธ์ คิดเป็นร้อยละ 70.97 และจำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การแก้ไขข้อบกพร่องในชั้นแก้สมการ หาคำตอบ คิดเป็นร้อยละ 92.50 2. จำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การแก้ไขข้อบกพร่องในการแก้โจทย์ปัญหาเรื่องร้อยละ คิดเป็นร้อยละ 92.50 3. คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนหลังการสอนซ่อมเสริม คิดเป็นร้อยละ 72.63-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the effects of deficiency dissolution in solving word problems on percent of mathayom suksa one students with remedial teaching through work sheets indicated by study the number of the students passing the criteria of deficiency dissolution in solving word problems for each step, the total number of the students passing the criteria of deficiency dissolution in solving word problems and the average scores after remedial teaching. The samples were 40 mathayom suksa one students having deficiency dissolution in solving word problems on percent of Prachaputtanasuksa School in Srisaket in 1998 academic year. The samples were randomly sampled. The research instrument was the subjective rest of deficiency dissolution in solving word problems on percent with the reliability of 0.84. The data were analyzed by means of frequency distribution and percentage. The result of the research revealed that : 1. the number of the students passing the criteria of deficiency dissolution in the step of introductory problem understanding was 100 percent. The number of the students passing the criteria of deficiency dissolution in the step of interpretation was 100 percent. The number of the students passing the criteria of deficiency dissolution in the step of problem expressing in terms of ratio and proportion was 70.97 percent. The number of the students passing the criteria of deficiency dissolution in the step of equation solving was 92.50 percent. 2. the numbers of the students passing the criteria of deficiency dissolution in solving word problems on percent was 92.50 percent. 3. the average scores after remedial teaching was 72.63 percent-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การสอนซ่อมเสริมen_US
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- โจทย์และแบบฝึกหัดen_US
dc.subjectการแก้โจทย์สมการen_US
dc.titleผลของการแก้ไขข้อบกพร่องในการแก้โจทย์ปัญหาเรื่องร้อยละของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการสอนซ่อมเสริมโดยใช้เอกสารฝึกหัดen_US
dc.title.alternativeThe effects of deficiency dissolution in solving word problems on percent of mathayom suksa one students with remedial teaching through work sheetsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษาคณิตศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuwattana.U@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piyanut_sr_front_p.pdf973.35 kBAdobe PDFView/Open
Piyanut_sr_ch1_p.pdf985.56 kBAdobe PDFView/Open
Piyanut_sr_ch2_p.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open
Piyanut_sr_ch3_p.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Piyanut_sr_ch4_p.pdf994.52 kBAdobe PDFView/Open
Piyanut_sr_ch5_p.pdf898.28 kBAdobe PDFView/Open
Piyanut_sr_back_p.pdf2.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.