Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6899
Title: | Continuous demulsification of crude palm oil in water using fiber coalescer |
Other Titles: | การทำลายความเป็นอิมัลชันแบบต่อเนื่องของน้ำมันปาล์มดิบในน้ำโดยใช้ตัวกลางแบบเส้นใย |
Authors: | Kittipon Wiwattanangkul |
Advisors: | Jirdsak Tscheikuna |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | jirdsak.t@eng.chula.ac.th |
Subjects: | Emulsions Petroleum Fibers |
Issue Date: | 2005 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | In this study, demulsification of crude palm oil in water using fiber as a coalescer was investigated. The experiments were conducted in a continuous system. Oil-in-water emulsion containing 1%wt of crude palm oil dispersed in water was used as a feedstock. The emulsion was allowed to flow through a glass column with an inner diameter of 15 mm. packed with palm fiber, nylon fiber and polyester fiber. The experiments were conducted at media heights of 100, 300 and 500 mm, flow velocities of 0.75, 1.50 and 2.25 mm/sec and operating temperatures of 60 ํC, 70 ํC, and 80 ํC, respectively. The results showed that coalescing media can be used to separate oil from oil-in-water emulsion. Palm fiber showed the best demulsification efficiency. Increasing flow velocity and media height results an increase of oil removal. Increasing operating temperature results in decreasing of oil removal. |
Other Abstract: | การวิจัยนี้ เป็นการศึกษาการทำลายความเป็นอิมัลชันของน้ำมันปาล์มดิบกับน้ำโดยตัวกลาง ในการช่วย รวมตัวในระบบแบบต่อเนื่อง อิมัลชันที่ใช้ในการทดลองเป็นอิมัลชันของน้ำมันปาล์มดิบ กับน้ำที่มีน้ำมัน ปาล์มดิบ กระจายตัวอยู่ในน้ำคิดเป็นร้อยละ 1 ของน้ำหนักน้ำ นำอิมัลชันไหลผ่านหอแก้วขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลาง ภายใน 15 มิลลิเมตร ที่บรรจุเต็มด้วยเส้นใยคือ เส้นใยปาล์ม เส้นใยไนล่อน และเส้นใยโพลี เอสเทอร์ ทำการทดลองที่สภาวะความสูงของหอ 100 300 และ 500 มิลลิเมตร ความเร็วการไหลของอิมัลชัน 0.75 1.50 และ 2.25 มิลลิเมตรต่อวินาที และที่อุณหภูมิ 60 70 และ 80 องศาเซลเซียส ตามลำดับ ผลการศึกษา พบว่าการใช้ตัวกลางสามารถช่วยให้น้ำมันปาล์มแยกตัวออกมาจากอิมัลชันได้ เส้นใยปาล์มมีประสิทธิภาพ ในการทำลายความเป็นอิมัลชันดีที่สุด ความเร็วการไหลของอิมัลชันและความสูงของหอตัวกลาง เพิ่มขึ้น มีผลให้การแยกตัวของน้ำมันมีค่าเพิ่มขึ้น อุณหภูมิสูงขึ้นส่งผลให้การแยกตัวของน้ำมันออกมามีค่าลดลง |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2005 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chemical Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6899 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1685 |
ISBN: | 9741754086 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2005.1685 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
kittipon.pdf | 1.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.