Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69264
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPomthong Malakul-
dc.contributor.advisorPramote Chaiyavech-
dc.contributor.advisorJullian, Sophie-
dc.contributor.authorJittapong Chansa-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2020-11-10T03:39:25Z-
dc.date.available2020-11-10T03:39:25Z-
dc.date.issued2004-
dc.identifier.isbn9749651073-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69264-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2004en_US
dc.description.abstractAs the conventional hydrodesulfurization process (HDS) is considered no longer practical or economical for the production of ultra low sulfur fuels, adsorption on solid adsorbent has gained increasing interest from researchers and refinery operators throughout the world. In this regard, the batch liquid adsorption of three thiophenic sulfur compounds, 3-methylthiophene (3MT), benzothiophene (BT) and dibenzothiophene (DBT), on NaX and NaY zeolites was the main focus of this study. Decane and isooctane were used as model transportation fuels, representing diesel and gasoline, respectively. The effects of temperature and fuel to adsorbent weight ratio on sulfur adsorption were also examined. In a comparison between the two zeolite adsorbents studied, NaX exhibited slightly better ability to adsorb 3MT and BT than did NaY. For DBT, the adsorption of this sulfur compound on both zeolites was shown to be quite similar. It was also observed that BT and DBT, having a benzo functional group in their structure, were better adsorbed on both zeolites than 3MT, especially at low concentration. The results also revealed that the adorption of all thiophenic compounds on both adsorbents decreased with increasing temperature. Moreover, increasing fuel to adsorbent weight ratio in the reactor resulted in an increase in the adsorption of thiophenic compounds.en_US
dc.description.abstractalternativeในปัจจุบันกระบวนการกำจัดกำมะถันโดยวิธีไฮโดรดีซัลเฟอร์ไรเซชั่นที่ใช้ในโรงกลั่นน้ำมันต่าง ๆ นั้นอาจไม่เหมาะสมในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีปริมาณกำมะถันต่ำเป็นพิเศษเนื่องจากเหตุผลเชิงเทคนิคและเชิงเศราฐศาสตร์ ดังนั้นวิธีการดูดซับสารประกอบกำมะถันบนตัวดูดซับจึงได้รับความสนใจจากนักวิจัยและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการกลั่นน้ำมันเพิ่มมากขึ้น ด้วยเหตุดังกล่าววัตถุประสงค์หลักของงานวิจัยนี้คือ การศึกษาการดูดซับสาราประกอบกำมะถันในน้ำมันเชื้อเพลิงด้วยตัวดูดซับในระบบแบบกะ สารประกอบกำมะถันที่ใช้ในงานวิจัยนี้มี 3 ชนิดคือ 3-เมทิลไทโอฟีน เบนโซไทโอฟีน และไดเบนโซไทโอฟีน ส่วนตัวดูดซับที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ โซเดียมเอ็กซ์ซีโอไลท์ และโซเดียมวายซีโอไลท์ และโซเดียมเอ็กส์ซีโอไลท์ และโซเดียมวายซีโอไลท์ งานวิจันนี้ได้ใช้เด็คเคน และไอโซออกเทน เป็นแบบจำลองของน้ำมันเชื้อเพลิงดีเซลและแก๊สโซลีนตามลำดับ นอกจากนี้งานวิจัยยังได้ศึกษาอิทธิพลของอุณหภูมิและอัตราส่วนของน้ำมันเชื้อเพลิงต่อตัวดูดซับที่มีผลต่อการดูดซับของสารประกอบกำมะถันด้วย จากผลการทดลองพบว่าโซเดียมเอ็กส์ซีโอไลท์มีความสามารถในการดูดซับ 3-เมทิลไทโอฟีน และเบนโซไทโอฟีนได้ดีกว่าโซเดียมวายซีโอไลท์เล็กน้อย อย่างไรก็ตามตัวดูดซับทั้ง 2 ชนิด มีความสามารถในการดูดซับไดเบนโซไทโอฟีน ได้ดีพอ ๆ กัน เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบการดูดซับของสารประกอบกำมะถันทั้ง 3 ชนิดนี้พบวาเบนโซไทโอฟีนและไดเบนโซไทโอฟีนถูกดูดซับบนตัวดูดซับทั้งสองชนิได้ดีกว่า 3-เมทิลไทโอฟีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ความเข้มข้นต่ำ ๆ จากการศึกษาอิทธิพลของอุณหภูมิต่อการดูดซับสารประกอบกำมะถันพบว่า เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น การดูดซับของตัวดูดซับต่อสารประกอบกำมะถันทั้ง 3 ชนิด จะลดลง นอกจากนั้นผลการทดลองยังบ่งชี้ว่าเมื่อเพิ่มอัตราส่วนระหว่างน้ำมันเชื้อเพลิงต่อตัวดูดซับจะทำให้การดูดซับสารประกอบมะถันทั้ง 3 ชนิดดีขึ้นen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.titleRemoval of sulfur compounds from transportation by adsorptionen_US
dc.title.alternativeการกำจัดกำมะถันออกจากน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องยนต์โดยวิธีการดูดซับen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePetroleum Technologyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorPomthong.M@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.email.advisorNo information provided-
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jittapong_ch_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ857.64 kBAdobe PDFView/Open
Jittapong_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1618.49 kBAdobe PDFView/Open
Jittapong_ch_ch2_p.pdfบทที่ 2839.38 kBAdobe PDFView/Open
Jittapong_ch_ch3_p.pdfบทที่ 3717.27 kBAdobe PDFView/Open
Jittapong_ch_ch4_p.pdfบทที่ 41.05 MBAdobe PDFView/Open
Jittapong_ch_ch5_p.pdfบทที่ 5629.96 kBAdobe PDFView/Open
Jittapong_ch_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.