Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69492
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เจตทะนง แกล้วสงคราม | - |
dc.contributor.author | อธิษฐ์ วุฒิสารวัฒนา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-11-11T10:07:33Z | - |
dc.date.available | 2020-11-11T10:07:33Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69492 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 | - |
dc.description.abstract | ที่มา: การรักษาวัณโรคด้วยยามีโอกาสแพ้ยาสูง ในปัจจุบันยังไม่มีรายงานข้อมูลในการตรวจอิไลสปอทในการช่วยวินิจฉัยแพ้ยาในกลุ่มนี้ วัตถุประสงค์: เพื่อหาค่าทำนายผลลบของการตรวจหาอินเตอร์เฟียรอนแกมมาโดยวีธีอิไลสปอทในการวินิจฉัยการแพ้ยาต้านวัณโรค วิธีการศึกษา: เก็บข้อมูลจากเวชระเบียนของผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้ส่งตรวจการแพ้ยาโดยวิธีอิไลสปอท จากสาขาวิชาโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างเดือนมกราคม 2555 - เมษายน 2562 จำนวน 29 ราย ผลการศึกษา: การตรวจหาอินเตอร์เฟียรอบแกมมาโดยวิธีอิไลสปอทในการวินิจฉัยการแพ้ยาวัณโรคให้ความไวร้อยละ 13.79 ความจำเพาะร้อยละ 96.77 ค่าทำนายผลบวกร้อยละ 66.67 ค่าทำนายผลลบร้อยละ 70.59 โดยการศึกษาไม่พบว่าปัจจัยอื่นๆ มีผลต่อการตรวจดังกล่าว สรุปผล: การตรวจหาอินเตอร์เฟียรอนแกมมาโดยวิธีอิไลสปอท ให้ค่าทำนายผลบวกและทำนายผลลบที่ไม่สูงมาก ผลการตรวจหากเป็นลบจะมีผลต่อการเปลี่ยนความน่าจะเป็นของการแพ้ยาเพียงเล็กน้อย แต่จะช่วยทำนายการแพ้ยาได้ดีขึ้นหากตรวจได้เป็นบวกในคนไข้กลุ่มแพ้ยารุนแรง อย่างไรก็ตามการศึกษานี้มีจำนวนข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์น้อยจึงยังอาจไม่พบความสัมพันธ์ที่อาจมีต่อผลการตรวจได้ ควรมีการศึกษาในระยะยาวเพื่อหาปัจจัยที่ช่วยให้การตรวจได้ประโยชน์มากที่สุด | - |
dc.description.abstractalternative | Background: There is high prevalence of allergic reaction to anti-tuberculous drugs. To date, ELISpot test for these drugs has not been validated. Objection: To find negative predictive value of ELISpot assay for interferon-gamma in diagnosis of anti-tuberculous drug hypersensitivity. Material and Method: Data was retrieved from medical record of 29 patients who were tested with ELISpot for interferon-gamma during 2012 January to 2019 April in allergy and clinical immunology unit, department of medicine, faculty of medicine, Chulalongkorn university. Results: ELISpot assay for interferon-gamma in anti-tuberculous drugs yields sensitivity 13.79%, specificity 96.77%, positive predictive value 66.67%, negative predictive value 70.59%. This study found no association of factors on ELISpot result. Conclusion: ELISpot assay for interferon-gamma in anti-tuberculous drugs provides unsatisfactory diagnostic values. Negative results alter probability to a small degree. However, positive test done in severe drug reaction can generate moderate shift in probability. Due to low study population factors associated with test results cannot be found. Further long-term study in larger population is needed to find any possible association to make this test most beneficial. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.1501 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject.classification | Medicine | - |
dc.title | ค่าทำนายผลลบของการตรวจหาอินเตอร์เฟียรอนแกมมาโดยวีธีอิไลสปอทในการวินิจฉัยการแพ้ยาต้านวัณโรค | - |
dc.title.alternative | Negative predictive value of ELISpot assay for interferon-gamma in diagnosis of anti-tuberculous drug hypersensitivity | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2019.1501 | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6174083030.pdf | 1.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.