Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69652
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิปัทม์ พิชญโยธิน-
dc.contributor.authorนราพร ม่วงปกรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2020-11-11T11:48:11Z-
dc.date.available2020-11-11T11:48:11Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69652-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมจากแหล่งต่าง ๆ ประกอบด้วยการสนับสนุนทางสังคมจากสามี ครอบครัว เพื่อน ที่ทำงาน สื่อสังคมออนไลน์ และพี่เลี้ยง/สถานรับเลี้ยงเด็กและอายุบุตรที่มีต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองในการดูแลบุตรและในการทำงานของแม่มือใหม่ที่กลับไปทำงานเดิมหลังลาคลอดบุตร กลุ่มตัวอย่างแม่มือใหม่ที่กลับไปทำงานอายุตั้งแต่ 21 – 45 ปี จำนวน 107 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามการได้รับการสนับสนุนทางสังคม แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถของตนเองในการดูแลบุตร แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถของตนเองในการทำงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือการถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple regression) ผลการวิจัยพบว่า ตัวแปรการสนับสนุนทางสังคมจากสามี ครอบครัว เพื่อน ที่ทำงาน สื่อสังคมออนไลน์ และอายุบุตรร่วมกันอธิบายตัวแปรตามการรับรู้ความสามารถในการเลี้ยงดูบุตร ได้ร้อยละ 11.8 (r2 = .118, Adjusted r2 = .065) และจากการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression) พบว่าการสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัวแมีความสัมพันธ์ทางบวกต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองในการดูแลบุตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .005 นอกจากนี้ตัวแปรการสนับสนุนทางสังคมทั้ง 5 แหล่งและอายุบุตรยังสามารถร่วมกันอธิบายตัวแปรตามการรับรู้ความสามารถในการทำงานได้ร้อยละ 17.8 (r2 = .178, Adjusted r2 = .129)  ซึ่งการสนับสนุนทางสังคมจากสามีมีความสัมพันธ์ทางลบกับการรับรู้ความสามารถของตนเองในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และการสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัวมีแนวโน้มในทิศทางบวกที่สามารถอธิบายการรับรู้ความสามารถในการทำงานของแม่มือใหม่ได้-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine the relations of social support from husband, family, friends, workplace, nanny/childcare, social media and child’s age on maternal self-efficacy and occupational self-efficacy of first-time mothers after maternity leave. Participants were 107 first-time mothers (21-45 years of age). Participants completed a questionnaire that consisted of demographic data, social support scale, maternal self-efficacy scale and occupational self-efficacy scale. The results of the multiple regression analysis revealed that social support from husband, family, friends, workplace, social media and child's age could explain 11.8% of variance in maternal self-efficacy (r2 = .118, Adjusted r2 = .065). Stepwise multiple regression showed that social support from family was positively and significantly correlated with maternal self-efficacy at p = 0.005. In addition, the five sources of social support and child’s age could explain 19.6% of variance in occupational self-efficacy of first-time mothers (r2 = .178, Adjusted r2 = .129).  Social support from husband was negatively and significantly correlated with occupational self-efficacy at p = 0.05 and social support from family was marginally correlated with occupational self-efficacy.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.765-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationPsychology-
dc.titleความสัมพันธ์ของแหล่งการสนับสนุนทางสังคม การรับรู้ความสามารถในการดูแลบุตร และการรับรู้ความสามารถในการทำงานของแม่มือใหม่ที่กลับไปทำงานเดิมหลังจากลาคลอด-
dc.title.alternativeThe relationship among sources of social support, maternal self-efficacy, and occupational self-efficacy of first-time mothers after maternity leave-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineจิตวิทยา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.keywordการสนับสนุนทางสังคม-
dc.subject.keywordแม่มือใหม่-
dc.subject.keywordกลับไปทำงานหลังลาคลอด-
dc.subject.keywordการรับรู้ความสามารถของตนเอง-
dc.subject.keywordsocial support-
dc.subject.keywordFirst-time mother-
dc.subject.keywordreturn to work after maternity leave-
dc.subject.keywordSelf-efficacy-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2019.765-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6177617838.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.