Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69658
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิปัทม์ พิชญโยธิน-
dc.contributor.advisorสุภลัคน์ ลวดลาย-
dc.contributor.authorณัฐธัญ ชวนชัยรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2020-11-11T11:48:14Z-
dc.date.available2020-11-11T11:48:14Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69658-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562-
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลุ่มนิสิตนักศึกษาในเรื่องความสัมพันธ์ของการรับรู้การเลี้ยงดูแบบเฮลิคอปเตอร์ที่ส่งผลให้เกิดความซึมเศร้า โดยมีการรับรู้ความรักของพ่อแม่ การรับรู้ความสามารถของตนเองด้านการเรียนและด้านสังคมเป็นตัวแปรส่งผ่าน โดยผู้เข้าร่วมงานวิจัย คือ นิสิตนักศึกษาทุกชั้นปีในระดับปริญญาตรี มีอายุระหว่าง 18-24 ปี การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 290 คน ผู้วิจัยตรวจสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์การทดสอบตัวแปรส่งผ่าน (Mediation analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า 1. การรับรู้การเลี้ยงดูแบบเฮลิคอปเตอร์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ความซึมเศร้า เมื่อควบคุมอิทธิพลของตัวแปรส่งผ่านทั้ง 3 ตัวแปร พบว่ามีความสัมพันธ์ต่อกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .22, p < .01) 2. การรับรู้ความรักของพ่อแม่ เป็นตัวแปรส่งผ่านระหว่าง การรับรู้การเลี้ยงดูแบบเฮลิคอปเตอร์ และความซึมเศร้า (β = .09, p < .05) 3. การรับรู้ความสามารถของตนเองด้านการเรียน ไม่ได้เป็นตัวแปรส่งผ่านระหว่าง การรับรู้การเลี้ยงดูแบบเฮลิคอปเตอร์ และความซึมเศร้า เนื่องจากช่วงของความเชื่อมั่นมีค่าคลุม 0 (β = .03, 95% ของช่วงชั้นความเชื่อมั่น [-.0019, .06]) 4. การรับรู้ความสามารถของตนเองด้านสังคม เป็นตัวแปรส่งผ่านระหว่าง การรับรู้การเลี้ยงดูแบบเฮลิคอปเตอร์ และความซึมเศร้า (β = .03, p < .01)-
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to examine mediational roles of perceived parent-child affection, academic self-efficacy and social self-efficacy in associations between perceived helicopter parenting and depression in university students. The participants in this study were 290 university students aged between 18 - 24 years. The results using mediation analysis were shown that 1. perceived helicopter parenting could explain depression directly when control the effect of all the mediators (β = .22, p < .01) 2. perceived parent-child affection could mediate the association between perceived helicopter parenting and depression (β = .09, p < .05) 3. academic self-efficacy could not mediate the relation between perceived helicopter parenting and depression (β = .03, 95% CI [-.0019, .06]) 4. social self-efficacy could mediate the association between perceived helicopter parenting and depression (β = .03, p < .01)-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.761-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationPsychology-
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การเลี้ยงดูแบบเฮลิคอปเตอร์ และความซึมเศร้าในนิสิตนักศึกษา โดยมีการรับรู้ความรักของพ่อแม่ การรับรู้ความสามารถของตนเองด้านการเรียนและด้านสังคมเป็นตัวแปรส่งผ่าน-
dc.title.alternativeThe association between perceived helicopter parenting and depression in university students : the mediational roles of perceived parent-child affection, academic self-efficacy and social self-efficacy-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineจิตวิทยา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.keywordการรับรู้การเลี้ยงดูแบบเฮลิคอปเตอร์-
dc.subject.keywordความซึมเศร้า-
dc.subject.keywordการรับรู้ความรักของพ่อแม่-
dc.subject.keywordการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านการเรียน-
dc.subject.keywordการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านสังคม-
dc.subject.keywordPerceived helicopter parenting-
dc.subject.keywordDepression-
dc.subject.keywordPerceived parent-child affection-
dc.subject.keywordAcademic self-efficacy-
dc.subject.keywordSocial self-efficacy-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2019.761-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6177653338.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.