Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70861
Title: | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยของคนงานก่อสร้าง ในจังหวัดนนทบุรี ปี 2534 |
Other Titles: | Factors related to illness health behavior of Construction worker in Nonthaburi Province 1991 |
Authors: | วสันต์ เวียนเสี้ยว |
Advisors: | บดี ธนะมั่น ภิรมย์ กมลรัตนกุล |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Subjects: | พฤติกรรมสุขภาพ คนงานก่อสร้าง -- นนทบุรี Health behavior Construction workers -- Nonthaburi |
Issue Date: | 2535 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทราบข้อเท็จจริง และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยของคนงานก่อสร้างในจังหวัดนนทบุรี ประชากรตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือตัวแทนคนงานก่อสร้างที่พักอาศัยอยู่ในแหล่งก่อสร้างในจังหวัดนนทบุรี โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน จำนวนตัวอย่างทั้งสิ้น 405 ครัวเรือน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ตามแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมเมื่อเจ็บป่วยของคนงานในด้านปัจจัยนำ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับการใช้บริการสาธารณสุข ในด้านปัจจัยความต้องการด้านสุขภาพ ได้แก่ ลักษณะ ของการเจ็บป่วย (P < .05) การรับรู้ตนเองเกี่ยวกับความรุนแรงของการเจ็บป่วย (P < .01) ในด้านปัจจัยสนับสนุน ได้แก่ การมีบัตรประกันสุขภาพ จำนวนชั่วโมงที่ทำงานต่อวันช่วงเวลาที่ปฏิบัติงานระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในแหล่งก่อสร้าง และเมื่อนำตัวแปรต่าง ๆ มาคัดเลือกเพื่อใช้สร้างสมการทำนายพฤติกรรม เมื่อเจ็บป่วยของคนงาน ผลปรากฏว่า ตัวแปรที่ดีที่สุดถูกคัดเลือกเข้ามาในสมการทำนาย ได้แก่ การรับรู้ ความรุนแรงเกี่ยวกับการเจ็บป่วย การมีบัตรประกันสุขภาพ การรู้จักเวลาเปิดให้บริการ ประเภทของ บริการที่ให้ และสถานที่ตั้งของสถานบริการสุขภาพ จำนวนชั่วโมงที่ทำงานต่อวัน ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ใน แหล่งก่อสร้าง อาชีพเดิมและประสบการณ์ที่เคยไปใช้บริการที่สถานีอนามัยและโรงพยาบาลเอกชน : ประสิทธิภาพของสมการนี้สามารถทำนายได้ถูกต้อง ร้อยละ 74.81 |
Other Abstract: | The objective of this study was to explore the pattern of health behavior and related factors among constructional workers in Nonthaburi j Province. The sample consisted of the construction workers who stayed at construction site in Nonthaburi province. A four-hundred and five households, selected by multi-stage sampling technique, were interviewed using the I structured questionair. We found that the predisposing factor associated with illness health I behavior among constructional workers was knowledge of utilization of health services. The factor associated with health need were type of illness (p < .05) , perception of severity of illness (p<-01). The enabling factors I associated with health behavior were health card, working time per day and duration of staying in construction site. The variables that were selected to predict illness health behavior in the Discriminant Analysis were perception of knowledge in illness severity, membership of health card, knowledge of health service working hour, type of health services, location of health service center, duration of working time per day, duration of staying in construction site, previous occupation and utilization of health center and I private hospital. This function can predicted correctly about 75 percent. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | เวชศาสตร์ชุมชน |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70861 |
ISBN: | 9745813443 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wasan_vi_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ | 973.29 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wasan_vi_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 992.21 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wasan_vi_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Wasan_vi_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 799.13 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wasan_vi_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
Wasan_vi_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 962.23 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wasan_vi_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 2.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.