Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70923
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนันทิกา ทวิชาชาติ-
dc.contributor.advisorเอม อินทรกรณ์-
dc.contributor.authorศิริยุพา นันสุนานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-11-24T01:45:03Z-
dc.date.available2020-11-24T01:45:03Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743470077-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70923-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพี่อศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยจิตเภทที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านโรคจิตกลุ่มดั้งเดิมและกลุ่มใหม่ และ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ อายุ เพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ระยะเวลาที่ป่วย จำนวนครั้งที่เข้ารักษาในโรงพยาบาล ระดับความรุนแรงของอาการทางจิต และชนิดของยาต้านโรคจิต โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ป่วยจิตเภท จำนวน 350 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านโรคจิตกลุ่มดั้งเดิม จำน วน 316 คน กลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านโรคจิตกลุ่มใหม่ จำนวน 34 คน ได้แก่กลุ่มยา clozapine จำนวน 18 คน ,กลุ่มย า risperidone จำนวน 6 คนและกลุ่มยา olanzapine จำนวน 10 คน ผู้ป่วยเหล่านี้มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลศรีธัญญา เครื่องมือที่ใช้ไนการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามคุณภาพชีวิต ( Quality of Life Questionnaire /QLQ ) และ แบบประเมินอาการทางจิต ( Brief Psychiatric Rating Scale /BPRS ) สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด และค่าตํ่าสุด เปรียบเทียบความแตกต่างโดย F-test, C hi-square test และ Stepwise Multiple linear regression ผลการวิเคราะห์พบว่า 1. ระดับคุณภาพชีวิตโดยรวมตามการประเมินตนเองของผู้ป่วยจิตเภทที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านโรคจิตพบว่า ส่วนใหญ่ประเมินตนเองว่ามีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลางถึงดีผู้ป่วยจิตเภทที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านโรคจิตกลุ่มดังเดิม มีระดับคุณภาพชีวิตดี คิดเป็นร้อยละ 49.1 กลุ่มยา clozapine มีระดับคุณภาพชีวิตปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 55.6 กลุ่มยา risperidone มีระดับคุณภาพชีวิตปานกลางคิดเป็นร้อยละ 66.7 และ กลุ่มยา olanzapine มีระดับคุณภาพชีวิตดี คิดเป็นร้อยละ 60 โดยไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพยากรณ์คุณภาพชีวิตโดยรวมของผู้ป่วยจิตเภทที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านโรคจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05 ได้แก่ ระดับความรุนแรงของอาการทางจิต สถานภาพสมรสคู่ ระดับการศึกษาสูงกว่าชั้นมัธยมศึกษา และเพศ-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to investigate quality of life among schizophrenia patients receiving conventional and novel antipsychotics and to explore factors related to quality of life, namely age, gender, marital status, education level, occupation, income, duration of illness, number of previous hospitalization, severity of symptoms and types of antipsychotics. The subjects of this study consisted of 350 schizophrenia out-patients who were treated at Srithanya Hospital. The subjects on conventional antipsychotics group w ere 316 and 34 subjects on novel antipsychotics groups: clozapine group, risperidone group and olanzapine group were 18, 6 and 10. The instruments were Quality of Life Questionnaire (QLQ) for quality of life and B ref Psychiatric Rating Scale (BPRS) for severity of symptoms. The data were processed to determine percentage, mean, standard deviation, maximum and minimum. F-test, C hi-square test and Stepwise multiple linear regression w ere used for statistical analysis. Results were as follows: 1. Most schizophrenia out-patients on antipsychotics groups rated their total quality of life from moderate to good. The conventional antipsychotics group scored good 49.1% , clozapine group scored moderate 55.6%, risperidone group scored moderate 66.7% and olanzapine group scored good 60%. There were no statistically significant difference in total quality of life Among each group. 2. The factors related to quality of life which statistically significant predicted the total quality of life in the schizophrenia out-patients on antipsychotics groups at 0.01 and 0.05 were severity of symptom s, married patients, high education level and gender.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectจิตเภท-
dc.subjectคุณภาพชีวิต-
dc.subjectยาต้านโรคจิต-
dc.titleคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยจิตเภทที่ได้รับการรักษาด้วย ยาต้านโรคจิตกลุ่มดั้งเดิมและกลุ่มใหม่-
dc.title.alternativeQuality of life among schizophrenia patients receiving conventional and novel antipsychotics-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสุขภาพจิต-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siriyupa_na_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ857.24 kBAdobe PDFView/Open
Siriyupa_na_ch1_p.pdfบทที่ 1744.38 kBAdobe PDFView/Open
Siriyupa_na_ch2_p.pdfบทที่ 22.02 MBAdobe PDFView/Open
Siriyupa_na_ch3_p.pdfบทที่ 3688.12 kBAdobe PDFView/Open
Siriyupa_na_ch4_p.pdfบทที่ 41.52 MBAdobe PDFView/Open
Siriyupa_na_ch5_p.pdfบทที่ 5853.67 kBAdobe PDFView/Open
Siriyupa_na_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก915.86 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.