Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71250
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดุจใจ ชัยวานิชศิริ | - |
dc.contributor.advisor | สมพล สงวนรังศิริกุล | - |
dc.contributor.author | วุฒิพร สุวรรณกูล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | กรุงเทพมหานคร | - |
dc.date.accessioned | 2020-12-03T09:06:27Z | - |
dc.date.available | 2020-12-03T09:06:27Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.isbn | 9743463666 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71250 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 | - |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาผลของการฝึกออกกำลังกายต่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนปัญญาอ่อน และเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนปัญญาอ่อนกับนักเรียนปกติวัยเดียวกัน ประชากรประกอบด้วย นักเรียนปัญญาอ่อน 27 คน (ชาย 13 คน หญิง 14 คน อายุ 16.26 ±.7 ปี นาหนักตัว 57.02 ± 14 กิโลกรัม ส่วนสูง 156.56±10 เซนติเมตร ระดับเชาว์ปัญญา 44.54 ± 7 อาการ Down Syndrome 9 คน) นักเรียนปกติ 14 คน(ชาย 7 คนหญิง 7คน อายุ 16.5 ± .9 นํ้าหนัก 55.65 ± 10 กิโลกรัม ส่วนสูง 161.43 ± 8 เซนติเมตร) การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประกอบด้วย การคำนวณหาเปอร์เซ็นต์ไขมันร่างกาย การ ทดสอบความอ่อนตัว การทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และการทดสอบหาอัตราการใช้ออกซิเจนสูงสุดของร่างกาย จากนั้นแบ่งนักเรียนปัญญาอ่อนออกเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง โดยกลุ่มทดลองจะฝึกออกกำลังกายโดยการเดิน/วิ่ง การยืดเหยียด กายบริหาร ยืนดันกำแพง และการก้าวขึ้นลงบันได ฝึกวันละ 60 นาทีที่ความหนัก 60-75% ของอัตราการเต้นหัวใจสูงสุดที่ที่ได้จากการทดสอบออกกำลังกายครั้งที่ 1 ฝึกสัปดาห์ละ 3 วัน เปีนเวลา 12 สัปดาห์ เมื่อสิ้นสุดโปรแกรมทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายครั้งที่ 2 ผลการศึกษาเมื่อเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนปัญญาอ่อนกับนักเรียนปกติพบภาวะอ้วนในนักเรียนปัญญาอ่อนมากกว่านักเรียนปกติประมาณ 2 เท่า(11/27, 3/11) โดยที่มีค่าเปอร์เซ็นต์ไขมันเฉลี่ยสูงกว่าอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนค่าสมรรถภาพด้านอึ่นๆ พบว่าตํ่ากว่านักเรียนปกติในทุกๆ ด้าน (P<.05) ผลการศึกษานักเรียนปัญญาอ่อนหลังสิ้นสุดโปรแกรมการฝึกออกกำลังกาย พบว่า กลุ่มควบคุมมีเปอร์เซ็นต์ไขมันเพิ่มขี้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P< .05) ขณะที่สมรรถภาพทางด้านอื่นๆ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง สำหรับกลุ่มทดลอง พบว่า สมรรถภาพทางกายเพิ่มขึ้นทุกด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < .05) โดยเฉพาะอัตราการใช้ออกซิเจนสูงสุดของร่างกายเพิ่มขี้น- 12.31% ยกเว้นเปอร์เซ็นต์ไขมันร่างกายที่ไม่มีการ เปลี่ยนแปลงใด ๆ ด้งนั้นผลจากการฝึกออกกำลังกายตามโปรแกรมที่กำหนดของนักเรียนปัญญาอ่อน สามารถเพิ่มระดับสมรรถภาพทางกายได้ | - |
dc.description.abstractalternative | Objective. To evaluate the effects of exercise program on physical fitness components of students with mental retardation (MR), and to compare the physical fitness of the MR students with normal population. Subjects. Twenty-seven MR students without physical abnormality from Rajanukul School (M: F=13:14, 9 with Down syndrome, mean age 16.26 years, mean IQ = 44.5) and 14 normal students from Wimuttayarampittayakom School (M: F=7:7, mean age 16.5) were enrolled into the study. Methods. All subjects were evaluated for their % body fat, peak oxygen consumption (V02peak), leg strength, and back flexibility. The MR subjects were randomly divided into an exercise and a control group. The exercise group underwent a 12- week exercise program, consisted of walk/jog, stretching, push up and bench step at the 60-75% maximum heart rate intensity, 60 minutes duration, 3 times/week. Then all MR subjects were assessed for their fitness components again. Results. Compared with normal students, the MR subjects had more prevalence of obesity (11/27 vs.3/14), though the mean %body fat was not significantly different. The V02peak of MR subjects was about 70% of normal; the leg strength and flexibility were significantly lower. After 12-week exercise program, the exercise group demonstrated 12% improvement in V02peak, with significant improvement in leg strength and flexibility (p<. 05). Percent of body fat was not change in the exercise group but increased in the control group. Conclusion. The MR students had low level of fitness with more risk to develop obesity. The prescribed exercise program could increase physical fitness of the students with mental retardation. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | ความบกพร่องทางสติปัญญา | - |
dc.subject | เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา | - |
dc.subject | สมรรถภาพทางกาย | - |
dc.subject | การออกกำลังกาย | - |
dc.title | ผลของการฝึกออกกำลังกายต่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียน ที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ในโรงเรียนราชานุกูล กรุงเทพมหานคร | - |
dc.title.alternative | Effects of exercise training on physical fitness of students with mental retardation in Rajanukul school, Bangkok metropolis | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | เวชศาสตร์การกีฬา | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wuttiporn_su_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ | 872.97 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wuttiporn_su_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 706.43 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wuttiporn_su_ch2_P.pdf | บทที่ 2 | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Wuttiporn_su_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Wuttiporn_su_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 781.48 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wuttiporn_su_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 927.39 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wuttiporn_su_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 1.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.