Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71363
Title: Experimental study and simulation of bubble fluidization
Other Titles: การทดลองและการประมวลผลทางโปรแกรมของฟองอากาศในหอฟลูอิดไดช์
Authors: Suttipong Songprawat
Advisors: Gidaspow, Dimitri
Kitipat Siemanond
Suchaya Nitivattananon
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Issue Date: 2003
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The objectives of this study were to measure the particl granular temperature in gas-solid fluidization using a CCD camera technique, to simulate the model for bubble fluidization, and to compare the experimental results with the simulation results. Granular temperatures and bubble properties were measured in a two-dimensional fluidized bed using 530 um diameter glass beads and a uniform inlet gas velocity. At a low gas inlet velocity of 33.55 cm/sec, the bubble diameter was higher than that calculated by Davidson model due to an error by the measurement in the bubble burst region. Bubble rising velocity was near that calculated by Gidaspow model. At a high gas inlet velocity of 58.7 cm/sec, two granular temperatures; particle granular temperature and bubble-like granular temperature, were measured from experiment. The particle granular temperature was obtained from particle velocity oscillations per photograph of CCD camera. The bubble-like granular temperature was received from the bubble motion. It was found that the bubble-like granular temperature from the bubble motion was higher than that of particle velocity oscillation. The simulation calculated the axial and radial velocity in the bubble. The errors of the radial velocity between the experiment and simulation were from 1.49-48.87% and that of the axial velocity were from 13.21-38.16%
Other Abstract: วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือการวัดอุณหภูมิระดับอนุภาค (Granular temperature) ของอนุภาคในการไหลของก๊าซโดยใช้เทคนิคกล้องถ่ายภาพวีดีโอซีซีดี, เพื่อแสดงผลของแบบจำลองสำหรับการไลแบบมีฟองอากาศ, และเพื่อเปรียบเทียบผลจากการทดลองกับผลจากแบบจำลอง อุณหภูมิระดับอนุภาค และฟองอากาศได้จากการวัดในหอฟลูอิดไดช์แบบสองมิติ โดยการใช้ลูกแก้วขนาด 530 ไมครอน และความเร็วของก๊าซขาเข้าที่ความเร็วต่ำซึ่งมีค่าเท่ากับ 33.55 เซนติเมตรต่อวินาที, ขนาดของฟองอากาศมีค่าสูงกว่าค่าที่คำนวณจากเดวิดสัน เนื่องจากค่าความคาดเคลื่อนของการวัดซึ่งเกิดจากฟองอากาศเกิดการแตกตัวที่บริเวณผิว และความเร็วของฟองอากาศ มีค่าใกล้เคียงกับค่าที่ได้จากสูตรของดิมิทรี สำหรับการทดลองที่ใช้ความเร็วของก๊าซขาเข้าเป็น 58.7 เซนติเมตรต่อวินาที อุณหภูมิระดับอนุภาคมี 2 ค่า คือ อุณหถูมิระดับอนุภาคของอนุภาคกับ อุณหภูมิระดับอนุภาคของฟองอากาศ อุณหภูมิระดับอนุภาคของอนุภาคได้จากการวัดแกว่งของอนุภาค ซึ่งได้จากการเฉลี่ยค่าของความเร็วของอนุภาคในแต่ละรูปภาพ อุณหภูมิระดับอนุกาคของฟองอากาศหาได้จากการเคลื่อนที่ของฟองอากาศ จากการทดลองพบว่าอุณหภูมิระดับอนุภาคของฟองอากาศสูงกว่าอุณหภูมิระดับอนุภาคของอนุภาค แบบจำลองคำนวณค่าของความเร็วในแนวดิ่งกับความเร็วในแนวนอน ค่าความเคลื่อนของความเร็วในแนวนอนระหว่างการทดลองกับแบบจำลองมีค่าตั้งแต่ .49-48.87% ค่าความคาดเคลื่อนของความเร็วในแนวดิ่งระหว่างการทดลองกับแบบจำลองมี่ค่าตั้งแต่ 13.21-38.16%
Description: Thesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2003
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemical Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71363
ISSN: 9741723067
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suttipong_so_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ879.47 kBAdobe PDFView/Open
Suttipong_so_ch1_p.pdfบทที่ 1620.7 kBAdobe PDFView/Open
Suttipong_so_ch2_p.pdfบทที่ 2702.25 kBAdobe PDFView/Open
Suttipong_so_ch3_p.pdfบทที่ 31.12 MBAdobe PDFView/Open
Suttipong_so_ch4_p.pdfบทที่ 4968.51 kBAdobe PDFView/Open
Suttipong_so_ch5_p.pdfบทที่ 51.53 MBAdobe PDFView/Open
Suttipong_so_ch6_p.pdfบทที่ 6603.98 kBAdobe PDFView/Open
Suttipong_so_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก3.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.