Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71413
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุมาพร ตรังคสมบัติ-
dc.contributor.advisorปริชวัน จันทร์ศิริ-
dc.contributor.authorนุชเนตร เปี่ยมสาลี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-12-08T08:11:50Z-
dc.date.available2020-12-08T08:11:50Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn97414721796-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71413-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความผูกพันของบิดามารดาต่อบุตรกับการปรับตัว ของนิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2548 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยศึกษา!ทกกลุ่มตัวอย่างทังหมด 412 คน ซึ่งถูกสุ่มด้วยวิธี Systematic stratified Sampling จากกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์กายภาพ และเทคโนโลยี มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถามความผูกพันของบิดา มารดาต่อบุตร (Parental Attachment Questionnaire) และ แบบสอบถามการปรับตัวในมหาวิทยาลัย (The Student Adaptation to College Questionnaire) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ เปรียบเทียบความแตกต่างโดยใช้ unpaired t-test, analysis of variance (ANOVA) และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ แบบ LSD-test และทดสอบความสัมพันธ์โดยค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation) การ วิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC ผลการวิจัยพบว่า นิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1ปีการศึกษา2548 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีการปรับตัว ในมหาวิทยาลัยระดับปานกลาง ปัจจัยที่มีผลต่อการปรับตัวของนิสิต ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ลักษณะสถานศึกษาก่อนเข้ามหาวิทยาลัย และความผูกพันของบิดามารดาต่อบุตร การวิเคราะห์การปรับตัวในแต่ละด้าน ได้ผล ดังนี้ การปรับตัวด้านการเรียน และการปรับตัวด้านสังคมพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความผูกพันของบิดา มารดาต่อบุตร มีผลต่อการปรับตัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การปรับตัวด้านส่วนบุคคลและอารมณ์พบว่า ลักษณะ สถานศึกษาก่อนเข้ามหาวิทยาลัย และความผูกพันของบิดามารดาต่อบุตร มีผลต่อการปรับตัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การปรับตัวด้านความผูกพันกับสถานศึกษาและมุ่งมั่นในเป้าหมาย และการปรับตัวโดยรวมพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ลักษณะสถานศึกษาก่อนเข้ามหาวิทยาลัย และความผูกพันของบิดามารดาต่อบุตร มีผลต่อการปรับตัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ความผูกพันของบิดามารดาต่อบุตรในแต่ละด้าน ได้แก่ ด้านคุณภาพความผูกพัน ด้านการส่งเสริม ความเป็นตัวของตัวเองของบุตร ด้านการสนับสนุนทางด้านอารมณ์แก่บุตร และความผูกพันของบิดามารดาต่อบุตร โดยรวม มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในแต่ละด้าน และการปรับตัวโดยรวมในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การ วิจัยครังนี้ทำให้ทราบถึงข้อมูลเบืองด้นว่า ความผูกพันของบิดามารดาต่อบุตรมีดวามสัมพันธ์กับการปรับตัวในมหาวิทยาลัย และปัจจัยต่อไปนี้ ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ลักษณะสถานศึกษาเดิมก่อนเข้ามหาวิทยาลัย และความ ผูกพันของบิดามารดาต่อบุตร เกี่ยวข้องกับการปรับตัวในมหาวิทยาลัยของนิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ข้อมูลเหล่านีจะเป็นประโยชน์ในการค้นหา และให้ความช่วยเหลือนิสิตที่อาจมีปีญหาการปรับตัว ระหว่างศึกษาในมหาวิทยาลัย-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the relations of parental attachment and the college adjustment of first-year students at Chulalongkom University during the academic year 2005. Using systematic stratified sampling, the collecting subjects were 412 first-year students from the fields of biological science, physical science and technology, humanities, and social science. All reported data were analyzed by SPSS/PC+ for percentage, mean, standard deviation, unpaired t-test, analysis of variance (ANOVA) and Pearson Product Moment Correlation. The result revealed that first-year students during the academic year of 2005 had moderate adjustment level. First semester grade and parental attachment were related to academic adjustment and social adjustment with statistical significance. The kinds of school before entering university and parental attachment were related to personal-emotional adjustment with statistical significance. First semester grade ,the kinds of school before entering university and parental attachment were related to goal commitment-institutional attachment and overall adjustment with statistical significance. Three aspects of parental attachment are affective quality of attachment, fostering of autonomy and emotional support were positive correlated with the college adjustment with statistical significance. In conclusion, this study revealed that first semester grade ,the kinds of school before entering university and parental attachment were related to the college adjustment of first-year students. The results can be applied to prevent adjustment problem in university students.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- นักศึกษาen_US
dc.subjectบิดามารดาและบุตรen_US
dc.subjectนักศึกษา -- ความสัมพันธ์ในครอบครัวen_US
dc.subjectการปรับตัว ‪(จิตวิทยา)‬ ในวัยรุ่นen_US
dc.subjectChulalongkorn University -- Studentsen_US
dc.subjectParent and childen_US
dc.subjectStudents -- Domestic relationsen_US
dc.subjectAdjustment ‪(Psychology)‬ in adolescenceen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันของบิดามารดาต่อบุตรกับการปรับตัวของนิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.title.alternativeRelations of parental attachment to the college adjustment of first-year students at Chulalangkorn Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorUmaporn.Tr@Chula.ac.th-
dc.email.advisorparichawan@yahoo.com,parichawan@yahoo.com-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nootchanet_pi_front_p.pdf946.13 kBAdobe PDFView/Open
Nootchanet_pi_ch1_p.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Nootchanet_pi_ch2_p.pdf1.55 MBAdobe PDFView/Open
Nootchanet_pi_ch3_p.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
Nootchanet_pi_ch4_p.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
Nootchanet_pi_ch5_p.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
Nootchanet_pi_back_p.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.