Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71551
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประไพพรรณ ภูมิวุฒิสาร-
dc.contributor.authorอุบลรัตน์ ธนรุจิวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-15T08:20:49Z-
dc.date.available2020-12-15T08:20:49Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746337033-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71551-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกิจกรรมการคิดอเนกนัยที่มีต่อพัฒนาการ ในด้านความคิดสร้างสรรค์ของเด็กไทยาย 5-6 ปี กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ในปีการศึกษา 2538 ของโรงเรียนอนุบาลวัดปรินายก จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุมควบคุม ใช้วิธการศึกษาแบบ Pretest - Posttest Control Group Design และ ใช้แบบสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ของทอแรนช์ชนิดที่เป็นรูปภาพที่ได้รับการศึกษาและปรับไปใช้กับเด็กไทย (อารี รังสินันท์, 2522) เป็นเครื่องมือสำหรับการทดลอง กลุ่มทดลองเป็นกลุ่มทีได้รับกิจกรรมการคิดอเนกนัย ในขณะที่กลุ่มควบคุมได้รับกิจกรรมจากโรงเรียนตามปกติ หลังการทดลอง ผู้วิจัยนำแบบสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ฉบับเดิมไปทดสอบในกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มอีกครั้ง และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนความคิดสร้างสรรค์โดยการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. เด็กทีได้รับกิจกรรมการคิดอเนกนัยมีความคิดสร้างสรรค์ด้านความคิดคล่อง ความคิดริเริ่ม ความคิดยืดหยุ่น และความคิดละเอียดลออ เพิ่มขึ้นกว่าเดิมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. เด็กกลุ่มทดลองมีความคิดสร้างสรรค์ด้านความคิดคล่อง ความคิดริเริ่ม ความคิด ยืดหยุ่น และความคิดละเอียดลออ สูงกว่าเด็กในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to study the effects of divergent thinking activities on creativity development of five to six year-old children. Subjects were 60 second-level kindergarten children of Wat Prinayok school in 1995 academic year. The study was conducted using Pretest-Posttest Control Group Design and "The Torrance's Creative Thinking Figure Form A." that was standardized for the Thai children (Aree Rungsinan, 2522) was ultilized as an assessment instrument of the study. During the treatment period the experimental group obtained divergent thinking activities for 6 weeks while the control group obtained normal school activities. After treatment, both groups were assessed for the creativity scores and data were analyzed by t-test The findings were as follows : The children who obtained divergent thinking activities significantly increased their creativity scores in fluency, originality, flexibility and elaboration. (p<.01) 2. The children who obtained divergent thinking activities showed significantly higher creativity scores in fluency, orginality, flexibility and elaboration than children in the control group. (p<.01)-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการศึกษาขั้นอนุบาล-
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์-
dc.titleผลของกิจกรรมการคิดอเนกนัยที่มีต่อพัฒนาการ ของความคิดสร้างสรรค์ในเด็กอายุ 5-6 ปี-
dc.title.alternativeEffects of the divergent thinking activities on creativity development of five to six year-old children-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ubonrat_th_front_p.pdf910.06 kBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_th_ch1_p.pdf3.14 MBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_th_ch2_p.pdf967.38 kBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_th_ch3_p.pdf772.52 kBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_th_ch4_p.pdf918.32 kBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_th_ch5_p.pdf703.81 kBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_th_back_p.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.