Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71968
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุรา ปานเจริญ | - |
dc.contributor.author | สมนึก ภาคพานิชย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-01-26T19:40:22Z | - |
dc.date.available | 2021-01-26T19:40:22Z | - |
dc.date.issued | 2538 | - |
dc.identifier.isbn | 9746326317 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71968 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 | en_US |
dc.description.abstract | การกำจัดไอออนของโลหะที่ปนเปื้อนอยู่ในน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้งานแล้ว เป็นขั้นตอนหนึ่งในกรรมวิธี กำจัดสิ่งไม่พึงประสงค์ออกไปเพื่อนำน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้งานแล้วกลับมาใช้ใหม่ได้อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งในการทำวิจัย ครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายที่จะกำจัดไอออนของโลหะสังกะสีออกจากน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้งานแล้ว โดยใช้การสกัดของเหลวด้วยของเหลวแบบไซน์เบลคอลัมน์และศึกษาถึงผลของการเปลี่ยนค่าของตัวแปรต่าง ๆ ว่าจะมีผลกระทบอย่างไรต่อระบบที่ศึกษา จากผลการวิจัยพบว่า สามารถที่จะกำจัดไอออนของโลหะสังกะสีออกจากน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้งานแล้ว โดยใช้กระบวนการดังกล่าวข้างต้น ในที่นี้สารละลายที่ใช้เป็นตัวสกัดแยกคือสารละลายแอมโมเนียมชัลเฟด ที่มีความเข้มข้นประมาณ 8 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักในน้ำ ซึ่งที่ภาวะสมดุลสามารถที่จะลดปริมาณไอออนของโลหะสังกะสีออกจากน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้งานแล้วจาก 1.650 ppm ลดลงเหลือประมาณ 10 ppm นอกจากนี้ยังพบอีกว่า ตัวแปรมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการดำเนินเข้าสู่ภาวะสมดุลของระบบคือ อัตรา การไหลของตัวสกัดแยกสาร, อัตราการไหลของน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้งานแล้วและความเร็วรอบของมอเตอร์ กล่าวคือเมื่ออัตราการไหลของน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้งานแล้วเพิ่มสูงขึ้น ปริมาณไอออนของโลหะสังกะสี ก็จะถูกกำจัดออกได้น้อยลงเนื่องจาก ระยะเวลาที่น้ำมันสัมผัสกับสารที่ใช้เป็นตัวสกัดแยกนั้นน้อยลง แต่เมื่อเพิ่มอัตราการไหลของตัวสกัดแยกสารและความเร็วของรอบมอเตอร์ให้สูงขึ้น จะมีผลทำให้ปริมาณไอออนของโลหะสังกะสีในน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้งานแล้วถูกกำจัดออกได้เพิ่มมากขึ้น จนถึงค่าค่าหนึ่งและเมื่อระบบปรับตัวเข้าสู่ภาวะสมดุล แม้จะมีการเพิ่มค่าของตัวแปรต่าง ๆ ให้สูงมากขึ้นอีก ก็จะไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลของระบบ ซึ่งหมายถึงปริมาณไอออนของโลหะสังกะสี จะไม่ถูกกำจัดออกไปมากกว่าเดิม สำหรับ ภาวะสมดุลของระบบ ที่เหมาะสมในการศึกษาวิจัยครั้งนี้คือ ที่อัตราการไหลของตัวสกัดแยกสารต่ออัตรา การไหลของน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้งานแล้วเป็น 1:5 ทีความเร็วรอบของมอเตอร์ 900 รอบ/นาที | - |
dc.description.abstractalternative | Removal of contaminated metal ions is a part of regeneration process of used lubrication oil. This study is focus on the removal of zinc ion from used lubricating oil by liquid-liquid extraction which Ammonium sulphate was used as the extractant and Scheibel column was used as reactor and to study the effect of various parameters in the extraction process. This study, Ammonium sulphate was used at the concentration of 8 percent by weight. From the results, we found that at the steady state Zinc ion was removed from 1,650 ppm to 10 ppm. Furthermore, we found that flow rate of extractant, flow rate of used lubricating oil and speed of motor effected the degree of extraction. Increase of used lubricating oil flow rate caused less Zinc ion removed but increase of extractant flow rate and increase of motor speed gave the same effect, more Zinc ion removed. However, Zinc ion could not be completely removed eventhough the parameters which direct effect the degree of extraction were adjusted. The conditions giving the highest efficiency of extraction are a ratio of extractant flow rate to used lubricating oil flow rate of 1:5 and a motor speed of 900 rpm. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | น้ำมันหล่อลื่น -- การนำกลับมาใช้ใหม่ | en_US |
dc.subject | Liquid-liquid extraction | en_US |
dc.title | การกำจัดไอออนของโลหะสังกะสีออกจากน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้งานแล้ว โดยการสกัดของเหลวด้วยของเหลว | en_US |
dc.title.alternative | Zinc ion removal from used lubrication oil by liquid-liquid extraction | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเคมี | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Ura.P@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somnuek_ph_front_p.pdf | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somnuek_ph_ch1_p.pdf | 765.02 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somnuek_ph_ch2_p.pdf | 2.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somnuek_ph_ch3_p.pdf | 1.45 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somnuek_ph_ch4_p.pdf | 1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somnuek_ph_ch5_p.pdf | 835.08 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somnuek_ph_ch6_p.pdf | 771.81 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somnuek_ph_back_p.pdf | 1.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.